ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖

The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 38 No. 2 April-June 2013 206 แนวคิดจิตวิทยาในการจัดการความขัดแย งในใจและสร างสันติสุข ๒ . การปกครองโดยรวมศูนย อํานาจในส วนกลาง ประเทศใดที่ใช วิธีการปกครองเช นนี้ จะขาดความเข าใจวัฒนธรรมท องถิ่น เกิดความขัดแย งระหว างชุมชนท องถิ่นกับนโยบายของรัฐ เนื่องจาก วัฒนธรรมท องถิ่นคือวิถีชีวิตร วมกันของชุมชนที่สอดคล องกับสิ่งแวดล อม มีลักษณะหลากหลายในแต ละ ภูมิภาค แต หากเป นอํานาจรวมศูนย คือมีอํานาจเดียว ไม อาจจัดการให เกิดสันติสุขในท องถิ่นต าง ๆ ได ทําให เกิดความขัดแย ง ๓ . ความขัดแย งหลักของโลก ความขัดแย งในโลกที่เกิดขึ้นส งผลกระทบไปนานาประเทศ ทั่วโลก ได แก ความขัดแย งระหว างสหรัฐอเมริกากับประเทศอิสลาม หรือความขัดแย งระหว างประเทศ อิสราเอลกับอาหรับที่เกิดมานานกว า ๕๐ ป ๔ . ระบบการศึกษา หากประเทศใดมีระบบการศึกษาที่ไม เอื้อต อการพัฒนาบุคคล และ พัฒนาความเข าใจเพื่อนมนุษย ให มีการอยู ร วมกันอย างสันติวิธี แต เน นจัดการศึกษาเฉพาะเก งในเนื้อหา วิชา ไม เข าใจสภาพที่แท จริงของโลก ความขัดแย งก็จะเกิดมากในประเทศเช นนี้ ๕ . โครงสร างของสังคมเน นยอดพีระมิดไปสู ฐาน ในการจัดโครงสร างสังคมเน นเฉพาะคนกลุ ม น อยที่อยู บนยอดพีระมิด โดยไม เน นคนในฐานพีระมิดที่มีจํานวนมาก คนยากจนไม ได รับความเป นธรรม ทางเศรษฐกิจ กฎหมาย และสิทธิทางสังคม ขาดการศึกษาที่มีคุณภาพ ทําให ขาดศีลธรรมพื้นฐานการ เป นคน เคารพศักดิ์ศรีคุณค าของความเป นคนอย างเท าเทียมกัน การขาดความเป นธรรมในสังคม เป นเรื่องสําคัญทําให เกิดการขาดความสามัคคี และนําไปสู ความขัดแย งและความรุนแรงในสังคม ในสังคมไทยป จจุบันความขัดแย งเกิดขึ้นมาก แต มีความพยายามใช วิธีการแก ไขโดยสันติวิธี อย างจริงจังน อยมาก การแก ไขโดยสันติวิธีเป นหนทางที่จะนํามาซึ่งความสันติสุข และเป นยาขนานสําคัญ ที่จะนําสันติมาสู สังคมอย างถาวรได แต จะทําได หรือไม ขึ้นอยู กับจิตสํานึกและพฤติกรรมของบุคคล ในสังคม 205-224 Mac9.indd 206 10/8/13 7:31 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=