ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖

๑ ภาคีสมาชิก สํานักธรรมศาสตร และการเมือง โลกยุคป จจุบันมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นมากทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง การเปลี่ยนแปลงนี้เกิดขึ้นในยุคสารสนเทศ การสื่อสารด านภาษาและวัฒนธรรมที่แตกต างกันทําให เกิด ความขัดแย งจากความไม เข าใจกันรุนแรงมากขึ้น สาเหตุใหญ มาจากการสื่อสารที่ไม เข าใจซึ่งกันและกัน นักวิชาการสรุปป จจัยที่ก อให เกิดความขัดแย งรุนแรง ๕ ประเภทใหญ ๆ คือ ๑ . การพัฒนาของโลกเป นวัตถุนิยมมากขึ้น ทําให สังคมเกิดความประมาท มัวเมาอยู ในวัตถุ นําไปสู การแย งชิงและทําร ายกัน แตกความสามัคคี และเกิดความเครียดรุนแรง วารสารราชบัณฑิตยสถาน ป ที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เม . ย .- มิ . ย . ๒๕๕๖ แนวคิดจิตวิทยาในการจัดการความขัดแย งในใจ และสร างสันติสุข พรรณทิพย ศิริวรรณบุศย ๑ บทคัดย อ ความขัดแย งเกิดจากความแตกต างทั้งเจตคติและพฤติกรรมของคน ๒ ฝ ายซึ่งอาจเป น บุคคลหรือกลุ มคนก็ได การจัดการความขัดแย งคือ การพยายามลดพฤติกรรมทางลบและเพิ่มพฤติกรรมทางบวก ความขัดแย งอาจเกิดจากสาเหตุหลายประการ ซึ่งส วนใหญ เกิดจากเป าประสงค ที่ แตกต างกันระหว างกลุ มคนหรือบุคคล ๒ ฝ าย รูปแบบการแก ไขหรือจัดการความขัดแย งมีหลายรูปแบบ จอห นสันและจอห นสัน ( ๒๐๐๗ ) ได นําเสนอรูปแบบการจัดการความขัดแย งที่พัฒนามาจากเบลก และมูตัน ( ๑๙๖๔ ) โดยมีรูปแบบการจัดการความขัดแย ง ๕ รูปแบบ คือ การจัดการแบบรุนแรง การจัดการแบบหลีกหนี การจัดการแบบยอมตาม การจัดการแบบประนีประนอม และการจัดการ แบบหันหน าเข าหากันแก ป ญหา ความขัดแย งนอกเหนือจากความขัดแย งระหว างบุคคลหรือระหว าง กลุ มยังมีความขัดแย งในตนเอง และความขัดแย งในตนเองนี้หากจัดการได จะนําไปสู การแก ไข ความขัดแย งระหว างบุคคลหรือระหว างกลุ มได และนําไปสู การสร างสันติสุขในสังคม คําสําคัญ : ความขัดแย ง , การสร างสันติสุข , มุมมองจิตวิทยา 205-224 Mac9.indd 205 10/8/13 7:31 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=