ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖

ทิศนา แขมมณี 199 วารสารราชบัณฑิตยสถาน ป ที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เม . ย .- มิ . ย . ๒๕๕๖ ๕ . ๑ . ๑๓ ครูควรได รับการฝ กวิเคราะห เนื้อหาสาระที่ต องการนํามาบูรณาการกัน เพื่อช วยให เห็นว า มีหน วยย อยใดที่สามารถเชื่อมโยงสัมพันธ กันได การวิเคราะห เนื้อหานับเป นบันได ขั้นต นที่สําคัญของการบูรณาการ หากเริ่มต นอย างถูกต องด วยดีแล ว ก็จะเป นฐานที่ดีของการดําเนินการ ขั้นต อ ๆ ไป ๕ . ๑ . ๑๔ เมื่อเนื้อหาสาระได รับการบูรณาการอย างดีแล ว การสอนเนื้อหาสาระนั้น ก็ควรเป นการสอนแบบบูรณาการด วย กล าวคือ ต องสอนสาระทั้งหมดอย างเชื่อมโยงสัมพันธ เป นเรื่อง เดียวกัน การบูรณาการจึงจะเกิดผลสมบูรณ ตามต องการ ๕ . ๑ . ๑๕ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป นหลักคิด หลักปฏิบัติที่บุคคลสามารถ นําไปใช ในการดําเนินชีวิต ในการคิดการกระทําสิ่งต าง ๆ ทั้งในเรื่องเล็กและเรื่องใหญ ความเข าใจ ที่คิดว า ปรัชญาฯ เป นเรื่องใหญ ควรใช กับการคิดการกระทําที่เป นเรื่องใหญ ๆ จึงทําให ครูมองข าม หรือมองไม เห็นสถานการณ เล็ก ๆ ย อย ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน และในสถานการณ การเรียนรู ของเด็กที่สามารถใช ปรัชญาฯ ได เช นกัน ทําให เสียโอกาสดี ๆ ในการฝ กฝนผู เรียนจากสถานการณ จริง ประเด็นที่นําเสนอทั้ง ๑๕ ประเด็นดังกล าว เป นประเด็นที่รวบรวมได จากการวิเคราะห ป ญหา และสาเหตุของป ญหาในการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในด านการจัดการเรียนรู โดยการใช ศาสตร / หลักทางการสอนเป นฐาน ซึ่งแท จริงแล วคงยังมีประเด็นป ญหาความเข าใจ ของครูอื่น ๆ อีกเป นจํานวนมาก ซึ่งผู ที่มีบทบาทหน าที่เกี่ยวข องและผู มีประสบการณ ตรงเกี่ยวกับ การปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษาต าง ๆ คงได รับรู รับทราบ หรือประสบด วยตนเอง ผู เขียน จึงขอเสนอให มีการรวบรวมประมวลข อมูลจากภาคสนามให มากที่สุด เพื่อจะได นําไปใช ในการพัฒนาครู ให ตรงจุด ตรงประเด็นกับป ญหาและความต องการที่แท จริง ๕ . ๒ การพัฒนาครูโดยใช กลยุทธ และวิธีการที่เหมาะสมกับลักษณะของสาระที่เรียนรู เมื่อมีเนื้อหาสาระที่ตรงกับป ญหาและความต องการของครูแล ว ก็ยังไม อาจรับประกันได เสมอไปว า ครูผู รับการพัฒนาจะเกิดความรู ความเข าใจในสาระดังกล าวได ตามที่ต องการ วิธีการที่ใช ในการพัฒนามีความสําคัญเช นเดียวกับวิธีการที่ครูจะไปสอนผู เรียน ซึ่งครูต องเลือกวิธีสอนให เหมาะสม กับลักษณะของเนื้อหา ในการพัฒนาครูก็เช นกัน ควรใช หลักเดียวกัน คือ ต องพิจารณาว าสาระที่ให ครูเรียนรู เป นสาระประเภทใด แล วจึงเลือกวิธีที่จะพัฒนาครูให เหมาะสมกับกระบวนการเรียนรู สาระ ประเภทนั้น แต เนื่องจากครูมีความแตกต างจากเด็ก คือ มีความเป นผู ใหญ การพัฒนาครูจึงต องใช หลักการเรียนรู ของผู ใหญ (adult learning) ด วย ข อเสนอแนะต อไปนี้เป นกิจกรรมที่สามารถช วยให ครูเกิดการเรียนรู ได ดี 172-204 Mac9.indd 199 10/8/13 7:27 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=