ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖
The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 38 No. 2 April-June 2013 198 การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู สถานศึกษา : ป ญหาและแนวทางแก ป ญหาในการจัดการเรียนรู ๕ . ๑ . ๗ ในการสอนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ต องมีทั้งการสอนหลักคิดและ กระบวนการคิด การสอนหลักคิดเป นการสอนเพื่อให เกิดความรู ความเข าใจ แต การสอนกระบวนการคิด เป นการสอนเพื่อให เกิดทักษะ ทักษะการคิดเป นทักษะที่เรียกว า ทักษะกระบวนการทางป ญญา ซึ่งต อง ใช หลักการสอนและวิธีสอนที่แตกต างจากการสอนความรู ความเข าใจ ๕ . ๑ . ๘ ในการสอนให ผู เรียนเกิดทักษะกระบวนการใด ๆ ผู สอนจําเป นต องมีความ ชัดเจนก อนว า กระบวนการนั้นคืออะไร มีวัตถุประสงค อะไร และมีลําดับขั้นตอนที่สําคัญอย างไร แล วจึง ดําเนินการสอนให ผู เรียนเข าใจกระบวนการนั้น ต อไปจึงฝ กให ผู เรียนดําเนินการคิดตามลําดับขั้นตอน ของกระบวนการนั้น ฝ กให ทําบ อย ๆ ในสถานการณ ที่แตกต างกัน โดยได รับแรงเสริมและข อมูลป อนกลับ ที่เหมาะสม จนกระทั่งสามารถทําได จนชํานาญ ๕ . ๑ . ๙ โดยทั่วไปครูมักไม เข าใจว ากระบวนการคิดตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คืออะไร เข าใจว าเป นหลักคิด จึงสอนเพียงหลักคิด ไม ได สอนกระบวนการคิด การส งเสริมให ครูวิเคราะห องค ประกอบของปรัชญาฯ รวมทั้งรายละเอียดต าง ๆ ที่เป นหน วยย อยของปรัชญาฯ แล วนําหน วยย อย ทั้งหลายมาจัดเป นกระบวนการหรือลําดับขั้นตอนในการคิด ซึ่งอาจจัดได หลายรูปแบบ วิธีนี้สามารถ ช วยให ครูเข าใจกระบวนการคิดได มากขึ้น และรู ว าจะสอน / กระตุ นให ผู เรียนคิดอะไรก อนหลังเป นลําดับ อย างไร ความชัดเจนในกระบวนการคิดจะสามารถช วยพัฒนาผู เรียนได ดีขึ้น ๕ . ๑ . ๑๐ การสอนและฝ กการใช หลักคิดแบบแยกส วน เป นประโยชน ในแง การฝ กฝน ให ผู เรียนเกิดความชํานาญในการใช หลักคิดแต ละหลัก แต ความสามารถในการใช หลักคิดเพียงบางหลัก หรือทุกหลักก็ยังไม เพียงพอ ผู เรียนควรต องสามารถดําเนินการคิดโดยใช หลักคิดทั้งหมดประสานสัมพันธ กันอย างเป นกระบวนการ ซึ่งก็คือ มีทักษะกระบวนการคิดด วย จึงจะเกิดผลที่สมบูรณ ๕ . ๑ . ๑๑ เมื่อมีการสอนหลักคิดและกระบวนการคิดตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงแล ว การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู ของผู เรียนก็ต องมีการวัดและประเมินผลทั้งทางด าน ความรู ความเข าใจในหลักคิด และทักษะกระบวนการคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งผลงานที่เกิดขึ้นจากการคิดและการกระทําตามความคิดนั้น ๕ . ๑ . ๑๒ ความรู ความเข าใจในความหมายของการบูรณาการ รวมทั้งวิธีการบูรณาการ ให เกิดองค รวมที่มีความเต็มสมบูรณ มีความสมดุล และอยู ในภาวะพอดี เป นป จจัยสําคัญที่ช วยให ครูสามารถบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการเรียนการสอนเนื้อหาสาระต าง ๆ ได อย าง เหมาะสม 172-204 Mac9.indd 198 10/8/13 7:27 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=