ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖

ทิศนา แขมมณี 197 วารสารราชบัณฑิตยสถาน ป ที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เม . ย .- มิ . ย . ๒๕๕๖ เพิ่มเติมเพื่อการพัฒนาตนเองและแก ป ญหาการจัดการเรียนรู ให มีประสิทธิภาพขึ้น จึงขอเสนอแนะ ให ผู มีบทบาทหน าที่และผู เกี่ยวข องในการพัฒนาครูได ศึกษาประเด็นเหล านี้ จัดกลุ มประเด็นที่สามารถ เรียนรู ไปพร อม ๆ กันได และจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการที่เจาะเฉพาะเรื่อง / ประเด็นเหล านั้น ซึ่งคง จะจัดได จํานวนไม น อย การประชุมเชิงปฏิบัติการที่มีวัตถุประสงค เฉพาะชัดเจนดังกล าวจะช วยให ครู เลือกเรียนรู ได ตามป ญหา / ความต องการและความสนใจของตน ประเด็นสําคัญที่ผู เขียนขอเสนอแนะให มีการนําไปพัฒนาครูเพื่อปรับความเข าใจที่ คลาดเคลื่อน และเสริมสร างความรู ความเข าใจและความสามารถหรือทักษะที่จําเป นของครู มีดังนี้ ๕ . ๑ . ๑ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มิได หมายถึงหลักคิดอันเป นองค ประกอบของ ปรัชญาเท านั้น แต หมายรวมถึงความสัมพันธ ขององค ประกอบ ซึ่งทําให เกิดเป นกระบวนการคิดด วย ดังนั้น สาระสําคัญของปรัชญาฯ ที่ประกอบด วยหลักคิดและกระบวนการคิด การสอน ให ผู เรียนมีความ รู ความเข าใจในหลักคิด จึงยังไม สมบูรณ ต องมีการสอนกระบวนการคิด คือการให ผู เรียนนําหลักคิดไป ดําเนินการคิดในการคิดการกระทําต าง ๆ ๕ . ๑ . ๒ หลักคิดมีลักษณะเป นหลักการ (principle) การเรียนรู หลักคิดจึงต องใช กระบวนการเรียนรู หลักการ (principle learning) ซึ่งเป นกระบวนการที่แตกต างจากการเรียนรู ข อมูล ข อเท็จจริงทั่ว ๆ ไป ๕ . ๑ . ๓ หลักคิดของปรัชญาฯ มีลักษณะเป นความรู ประเภทมโนทัศน / ความคิดรวบยอด (conceptual knowledge) จึงต องใช วิธีสอนที่ช วยให ผู เรียนเกิดมโนทัศน การสอนแบบบอกมโนทัศน ยังไม สามารถช วยให ผู เรียนเกิดความเข าใจในมโนทัศน นั้นได อย างชัดเจน ๕ . ๑ . ๔ วิธีสอนมโนทัศน ที่สามารถนํามาใช ได ดี ไม ง ายและไม ยากเกินไปมี ๒ วิธี คือ วิธีสอนแบบนิรนัย และวิธีสอนแบบอุปนัย ครูส วนใหญ ขาดทักษะการใช วิธีสอนทั้ง ๒ แบบอย างสมบูรณ จึงควรพัฒนาฝ กฝนให ครูมีทักษะการสอนด วยวิธีทั้งสองเป นพิเศษ ๕ . ๑ . ๕ การสอนมโนทัศน ให ได ผล ต องอาศัยตัวอย าง / สถานการณ ที่มีคุณสมบัติสําคัญ ของมโนทัศน นั้นจํานวนมาก เพื่อให ครอบคลุมแก นสําคัญของมโนทัศน นั้น ดังนั้น ครูจึงจําเป นต อง มีความเข าใจและความสามารถในการวิเคราะห มโนทัศน และจัดเตรียมตัวอย างให แก ผู เรียน ๕ . ๑ . ๖ หลักคิดมีลักษณะเป นหลักการที่สามารถนําไปประยุกต ใช ในสถานการณ ต าง ๆ ได อย างกว างขวาง เมื่อนําหลักคิดไปใช ต องมีการดําเนินการคิดซึ่งเรียกว า กระบวนการคิด หรือการคิดอย างเป นลําดับขั้นตอน คือ ผู คิดรู ว าควรคิดให ครอบคลุมเรื่องใดบ าง ใช หลักคิดอะไร ตอนไหน และควรคิดอะไรก อนหลัง จึงจะทําให การคิดนั้นรอบคอบและเกิดผลดี 172-204 Mac9.indd 197 10/8/13 7:27 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=