ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖

The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 38 No. 2 April-June 2013 196 การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู สถานศึกษา : ป ญหาและแนวทางแก ป ญหาในการจัดการเรียนรู จากการวิเคราะห ดังกล าวข างต น ไม ได หมายความว า ปรากฏการณ ต าง ๆ ที่เกิดขึ้นดังกล าว นั้นไม ถูกต องหรือผิด ปรากฏการณ ดังกล าว เป นปรากฏการณ ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของเหตุและป จจัย และเป นปรากฏการณ ที่แสดงให เห็นถึงความพยายามของครูและผู เกี่ยวข อง ในการขับเคลื่อนปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงที่มีคุณค าต อการดํารงชีวิตสู เด็กและเยาวชนของชาติ แม ว าครูจะยังสอนและฝ ก ผู เรียนให ใช หลักคิดของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแบบแยกส วนหรือบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในการจัดการเรียนรู ยังไม สมบูรณ ตามความต องการ แต ก็ล วนเป นก าวหนึ่งที่สําคัญต อการพัฒนา ให บรรลุจุดหมายปลายทาง การสอนและฝ กให ผู เรียนใช หลักคิดแบบแยกส วน แม จะยังไม ใช การสอน ปรัชญาฯ ที่สมบูรณ แต ก็เป นแบบฝ กหัดให ผู เรียนเกิดความรู ความเข าใจและเกิดทักษะความชํานาญ ในการคิดตามหลักคิดนั้น ๆ ซึ่งหากผู เรียนมีความชํานาญในการใช หลักคิดแต ละหลัก ต อไปเมื่อต อง ดําเนินการคิดอย างเป นกระบวนการ คือ การดําเนินการคิดโดยใช หลักคิดทั้งหมดอย างเชื่อมโยง และสัมพันธ กัน ก็จะเป นไปได อย างสะดวกและรวดเร็วขึ้น ส วนในเรื่องการบูรณาการที่อาจยังมีคุณภาพ ไม ถึงระดับที่ต องการนั้น ประสบการณ จากการทําบ อย ๆ ในเรื่องหรือสถานการณ ที่มีองค ประกอบ แตกต างกันหลากหลาย และการได รับความช วยเหลือทางวิชาการเพิ่มขึ้น ก็จะช วยให ครูเรียนรู และ พัฒนาความสามารถขึ้นไปได เรื่อย ๆ ๕ . แนวทางแก ป ญหาการจัดการเรียนรู ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา จากการวิเคราะห ป ญหาและสาเหตุของการจัดการเรียนรู ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บนฐานของศาสตร ทางการสอน ดังกล าวไว ในหัวข อที่ ๔ ผู เขียนจึงขอเสนอแนะแนวทางในการให ความ ช วยเหลือครู เพื่อแก ป ญหาการจัดการเรียนรู ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาดังนี้ ๕ . ๑ การปรับความเข าใจที่คลาดเคลื่อนในสาระสําคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเสริมสร างความรู ความเข าใจและความสามารถด านการสอน เนื่องจากป ญหาที่เกิดขึ้นมีต นเหตุมาจากการขาดความเข าใจที่ชัดเจนและขาดทักษะ ในการปฏิบัติเป นส วนใหญ ดังนั้น วิธีการที่จะช วยให การปฏิบัติงานของครูดีขึ้น มีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งสามารถดําเนินการได ทันทีไม ยากนัก ก็คือ การจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อปรับความเข าใจ และ เพิ่มพูนความรู ที่จําเป นให แก ครู ซึ่งโดยทั่วไปก็มักมีการจัดกันอยู แล ว แต โปรแกรม / สาระการประชุม มักมีลักษณะกว าง ๆ ซึ่งไม จําเพาะเจาะลึกไปที่ประเด็นย อย ๆ ซึ่งเป นตัวป ญหา ทําให ไม สามารถ แก ป ญหาได ตรงจุด จากการวิเคราะห ป ญหาและสาเหตุของการจัดการเรียนรู ตามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ดังที่ได บรรยายและอภิปรายไว แล วในหัวข อที่ ๔ สามารถสรุปประเด็นสําคัญที่ครูควรเรียนรู 172-204 Mac9.indd 196 10/8/13 7:27 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=