ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖

ทิศนา แขมมณี 195 วารสารราชบัณฑิตยสถาน ป ที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เม . ย .- มิ . ย . ๒๕๕๖ จากที่กล าวมาข างต น จะเห็นได ว า การบูรณาการสาระการเรียนรู และการสอนอย าง บูรณาการให ได ผลดี ขึ้นกับป จจัยจํานวนมาก ซึ่งหากขาดเพียงประการหนึ่งประการใดไป ก็จะมีผล ต อประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการสอน ดังกรณีของการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการจัดการเรียนรู สาระกลุ มต าง ๆ ที่ยังไม เกิดผลสําเร็จตามต องการ ก็อาจเริ่มต นมาตั้งแต การขาด ความเข าใจที่ชัดเจนทั้งในสาระหลักที่จะสอน และ / หรือสาระสําคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แต โดยทั่วไปแล ว ครูมักเข าใจในสาระทั้ง ๒ ด านในระดับหนึ่งแล ว เพียงแต อาจยังขาดความชัดเจนหรือ ความกระจ างในบางเรื่อง บางจุด จึงทําให การบูรณาการและการสอนได ผลไม เต็มที่ จุดที่น าจะเป นสาเหตุหรืออุปสรรคสําคัญต อความสําเร็จของการพัฒนาผู เรียนให บรรลุ จุดมุ งหมายก็คือ ข อ ๓ ) ซึ่งกล าวถึงเรื่องของความสามารถในการวิเคราะห เนื้อหาสาระและการเห็น ความสัมพันธ ของสิ่ง / เรื่องที่นํามาบูรณาการกัน การบูรณาการที่ดีจําเป นต องเริ่มต นด วยการวิเคราะห เนื้อหาสาระของสิ่งที่จะบูรณาการกัน ( ซึ่งอาจจะเป น ๒ สิ่ง / เรื่อง หรือมากกว านั้น ) ว ามีส วนที่สัมพันธ กันอย างไรให ได เสียก อน จึงจะสามารถกําหนดวัตถุประสงค ของการบูรณาการ เลือกลักษณะของ การบูรณาการ และรูปแบบของการบูรณาการที่เหมาะสมกับสาระและวัตถุประสงค ของการเรียนรู ได ดังกรณีของการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนี้ มูลนิธิสยามกัมมาจลได ระบุสภาพป ญหาหนึ่ง ของครูที่เกิดขึ้นไว ว า “ การเขียนแผนการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงยังขาดความเชื่อมโยง และไม เห็นการนําไปปฏิบัติจริง ” ซึ่งสาเหตุอาจจะมาจากการขาดการวิเคราะห เนื้อหาสาระที่จะ บูรณาการกัน หรืออาจมาจากความเข าใจที่ไม กระจ างในสาระสําคัญของปรัชญาฯ ดังกล าวไว แล วในตอนต น ครูอาจมองปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงว าเป นเรื่องใหญ เป นเรื่องที่ใช ในการทํางานใหญ ๆ ที่ต องมี การคิด การวางแผน และการลงมือทําตามความคิดและเกิดผลชัดเจน เช น การทําเกษตร ปลูกผัก เลี้ยงสัตว การถนอมอาหาร การแปรรูปขยะ การประดิษฐ สิ่งของจากวัสดุเหลือใช ความเข าใจของครู ยังไม อยู ในระดับที่สามารถวิเคราะห หรือมองทะลุสถานการณ ต าง ๆ ได ว า แม ในเรื่องเล็ก ๆ สถานการณ เล็ก ๆ ที่มีอยู โดยทั่วไป ก็สามารถใช หลักคิดของปรัชญาฯ ได อย างสมบูรณ แบบเหมือนกัน ที่เป นเช น นี้ก็เนื่องมาจากการเรียนรู ของครูก็ได มาจากสถานการณ การเรียนรู ที่จํากัด ซึ่งผู รู ผู พัฒนาครูจัดให ด วยเหตุที่ครูมองไม ออกว า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเข าไปเชื่อมโยงกับสถานการณ การเรียนรู เล็ก ๆ ย อย ๆ ทั้งหลายได อย างไร แต ด วยความรับผิดชอบสูง ก็พยายามดําเนินการสอนให ได ตามที่ถูกคาดหวัง จึงทําให เกิดปรากฏการณ “ การบูรณาการแบบยัดเยียด ” ขึ้น คือ การบูรณาการนั้นมีลักษณะไม ผสม ผสานกลมกลืนเป นเรื่องเดียวกัน ขาดความสมดุลและความเป นธรรมชาติ และอีกปรากฏการณ หนึ่งคือ “ การสอนหลักคิด / ให ผู เรียนใช หลักคิดแต ละหลักแยกจากกัน ” เพราะเป นทางออกที่ช วยให ครูสามารถ บูรณาการปรัชญาฯ ในสถานการณ เล็ก ๆ ได ง ายกว าและชัดเจนกว า 172-204 Mac9.indd 195 10/8/13 7:27 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=