ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖
The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 38 No. 2 April-June 2013 194 การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู สถานศึกษา : ป ญหาและแนวทางแก ป ญหาในการจัดการเรียนรู จากความหมายของการบูรณาการข างต น จะเห็นได ว า การที่จะบูรณาการสาระหรือเรื่องใด ๆ ในการสอน ต องอาศัยความรู ความเข าใจและทักษะที่จําเป นจํานวนไม น อย ที่สําคัญคือ ๑ ) ความรู ความเข าใจในเรื่อง / สาระหลักที่จะสอน กล าวคือ ต องรู ว าเรื่องหรือองค รวม ที่มีอยู แล ว มีหน วยย อยอะไรอยู แล ว และหน วยย อยนั้นมีความสัมพันธ กันอย างไร และมีอะไรที่ยังขาดอยู หรือยังไม สมบูรณ ๒ ) ความรู ความเข าใจในเรื่อง / สาระที่ต องการนํามาบูรณาการกับสาระหลัก / องค รวมที่มีอยู แล ว คือ จะต องมีความเข าใจในหน วยย อยและความสัมพันธ ของหน วยย อยต าง ๆ ของสาระ / เรื่องนั้น เช นเดียวกันกับข อ ๑ ) ๓ ) ความสามารถในการวิเคราะห เนื้อหาสาระของสิ่งที่จะมาบูรณาการกัน สามารถมองเห็น ความสัมพันธ ระหว างหน วยย อยต าง ๆ ของสาระเหล านั้น และเลือกหน วยย อยที่มีความสัมพันธ เชื่อมโยง กับองค รวมที่มีอยู แล ว เพื่อเติมเต็มให องค รวมมีความสมบูรณ ตามวัตถุประสงค ของการบูรณาการ หรือสามารถเลือกหน วยย อยต าง ๆ ของสิ่งที่จะมาบูรณาการกัน มารวมเข าเป นองค รวมใหม ที่ไม เหมือน เดิม เพื่อตอบสนองต อวัตถุประสงค ของการบูรณาการ ๔ ) ความรู ความเข าใจในลักษณะของการบูรณาการ ได แก การบูรณาการแบบผสมผสาน ที่เป นการรวมหน วยย อยเข าเป นองค รวม โดยที่ยังสามารถเห็น / แยกแยะลักษณะเดิมของหน วยย อย ที่นํามารวมกันได และการบูรณาการแบบหลอมรวม ซึ่งเป นการหลอมรวมหน วยย อยเข าด วยกันจนเป น เนื้อเดียวกัน ไม สามารถเห็น / แยกแยะลักษณะเดิมของหน วยย อยที่นํามารวมกันได ๕ ) ความรู ความเข าใจเกี่ยวกับรูปแบบของการบูรณาการ ซึ่งมีหลายรูปแบบ เช น การบูรณาการ สอดแทรก (infusion) การบูรณาการแบบสหวิทยาการ (interdisciplinary) การบูรณาการแบบ พหุวิทยาการ (multi-disciplinary) การบูรณาการแบบไขว วิทยาการ (cross disciplinary) และ การบูรณาการแบบข ามวิทยาการ (transdisciplinary) และสามารถเลือกรูปแบบการบูรณาการ ที่เหมาะสมกับเนื้อหาสาระและวัตถุประสงค ของการบูรณาการ ๖ ) ความสามารถในการผสมผสานหรือหลอมรวมหน วยย อยทั้งหลายให ผสมกลมกลืนกัน เป นเรื่องเดียวกัน เกิดเป นองค รวมที่มีความเต็มสมบูรณ (fullness) และมีความสมดุล (balance) คือ อยู ในภาวะพอดี อันจะทําให องค รวมที่เกิดขึ้นสามารถดํารงอยู และดําเนินต อไปได ด วยดี ๗ ) ความรู ความเข าใจ และความสามารถ ในการสอนแบบบูรณาการ กล าวคือ เมื่อเนื้อหา สาระได รับการบูรณาการอย างดีแล ว การสอนก็ต องเป นการสอนแบบบูรณาการ คือ สอนอย างสัมพันธ เป นเรื่องเดียวกัน ไม แยกเป นแท งไม แบ งเป นท อน ผู เรียนควรเกิดการเรียนรู แบบเป นองค รวม เข าใจถึง ความสัมพันธ ของหน วยย อยต าง ๆ ที่ประกอบกันเป นองค รวม 172-204 Mac9.indd 194 10/8/13 7:27 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=