ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖
ทิศนา แขมมณี 193 วารสารราชบัณฑิตยสถาน ป ที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เม . ย .- มิ . ย . ๒๕๕๖ กระบวนการคิดและผลของการคิดด วย การดูที่ผลจากการคิดเพียงอย างเดียวจะไม สามารถบอกได อย างชัดเจนว า ผู เรียนได ใช หรือเกิดทักษะกระบวนการคิดตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงหรือไม การวัดและประเมินผลการเรียนรู ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่สมบูรณ จึงควรมีทั้งทางด านความรู ความเข าใจในปรัชญาฯ ทักษะกระบวนการคิดตามปรัชญาฯ และผลที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติตามความคิด ประเด็นเรื่อง “ หลักคิด ” “ กระบวนการคิด ” และ “ การสอนกระบวนการคิด ” ดังกล าว ข างต น คงจะช วยให เข าใจป ญหาที่มูลนิธิสยามกัมมาจลพบว า “ ครูมักตีความอุปนิสัยพอเพียงไป ในเรื่องคุณธรรม ไม มีการสอนกระบวนการคิด ” และ “ ครูวัดผลการเรียนรู ของเด็กจากความรู หรือผลงาน ของเด็ก ไม ได ดูไปถึงกระบวนการคิด ” ป ญหานี้แสดงให เห็นค อนข างชัดเจนว า ครูยังขาดความรู ความเข าใจในเรื่องของกระบวนการคิด และการสอนกระบวนการคิด รวมไปถึงการวัดและประเมิน ซึ่งควรจะครอบคลุมทั้งในด านความรู ความเข าใจ ทักษะกระบวนการคิด และผลงานที่เกิดจากการคิด ดังได บรรยายไว แล ว ๔ . ๕ การขาดความรู ความเข าใจและทักษะในการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงในการจัดการเรียนรู ดังกล าวข างต นว า การบูรณาการของเศรษฐกิจพอเพียงในการสอนเนื้อหาสาระต าง ๆ ที่ผู เรียนจําเป นต องเรียนตามที่หลักสูตรกําหนดเป นวิธีการที่ช วยให ผู เรียนมีโอกาสได ฝ กนําหลักคิดของ ปรัชญาฯ ไปใช ในสถานการณ ต าง ๆ ที่หลากหลาย เนื้อหาสาระการเรียนรู ที่แตกต างกันให สถานการณ ที่แตกต างกัน เอื้อให ผู เรียนได ฝ กปฏิบัติการคิด ซึ่งถ าทําได มากเท าไร ก็จะยิ่งช วยให ผู เรียนเกิดความเข าใจ ที่ลึกซึ้งขึ้น และเกิดทักษะความชํานาญในการคิดได เร็วมากขึ้นเท านั้น แต ในสภาพความเป นจริงกลับ ปรากฏว า แนวทางนี้เป นแนวทางที่ครูประสบป ญหามากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับแนวทางอื่น ๆ พระธรรมป ฎก ( ป . อ . ปยุตฺโต ) ได ให ความหมายที่ชัดเจนของการบูรณาการไว ว า ( พระธรรม ป ฎก , ๒๕๔๐ ) การบูรณาการ คือ การทําให หน วยย อยทั้งหลายที่มีความสัมพันธ อิงอาศัยกัน มาเข า ร วมเป นองค ประกอบที่ทําหน าที่ประสานกันอย างกลมกลืน เข าเป นองค รวมเดียวกันอย างพอดี จนเกิด ภาวะที่เป นตัวของมันเองที่มีความสมดุล ทําให องค รวมนั้นสามารถดํารงอยู และดําเนินต อไปได ในภาวะ ที่ครบถ วนสมบูรณ วัตถุประสงค ของการบูรณาการมี ๒ ประการหลัก ๆ คือ ( ๑ ) บูรณาการเพื่อเติมเต็ม ซึ่งก็คือ การนําหน วยย อยที่เลือกแล วมารวมเข าในองค รวมที่มีหน วยย อยอื่น ๆ อยู แล ว เพื่อให มีความสมบูรณ ตามวัตถุประสงค และ ( ๒ ) การบูรณาการเพื่อสร างสิ่งใหม คือ การเลือกและนําหน วยย อยทั้งหลาย ที่ต างแยกกันอยู มารวมเข าเป นองค รวมให ได ตามวัตถุประสงค ของการบูรณาการ 172-204 Mac9.indd 193 10/8/13 7:27 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=