ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖
The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 38 No. 2 April-June 2013 ๑ ภาคีสมาชิก สํานักธรรมศาสตร และการเมือง ๑ . ความเป นมา ความสําคัญ ความสําเร็จ และป ญหาหลักของการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงสู สถานศึกษา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป นปรัชญาในการดําเนินชีวิตที่พระบาทสมเด็จพระเจ าอยู หัว ภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชดํารัสชี้แนะแก พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว า ๓๐ ป พระองค ได พระราชทานความหมายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไว ว า ( จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา และปรียานุช พิบูลสราวุธ , ๒๕๕๓ ) การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู สถานศึกษา : ป ญหาและแนวทางแก ป ญหา ในการจัดการเรียนรู ทิศนา แขมมณี ๑ บทคัดย อ ป ญหาสําคัญบางประการที่เกิดขึ้นจากการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู โรงเรียนที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได แก ป ญหาการออกแบบการเรียนรู ให ผู เรียนเข าใจในปรัชญาฯ การสอนหลักคิด ๓ ห วง ๒ เงื่อนไขแบบแยกส วน การขาดการสอนและวัดผลการเรียนรู กระบวนการคิด เป นต น เมื่อนําศาสตร ทางการสอนมาใช เป นฐานในการวิเคราะห หาสาเหตุพบว า มีสาเหตุมาจาก ความเข าใจที่คลาดเคลื่อนในบางส วนของหลักปรัชญา การขาดความเข าใจและทักษะในการสอน มโนทัศน (concept teaching) และการใช วิธีสอนแบบอุปนัย (inductive method) รวมทั้งหลักการ และวิธีการสอนทักษะกระบวนการคิด รวมไปถึงทักษะในการบูรณาการการสอนด วย ผู เขียนจึงได เสนอแนะให มีการช วยเหลือครู โดยดําเนินการปรับความเข าใจและพัฒนาทักษะที่จําเป นรวม ๑๕ ประเด็น เพื่อช วยให การขับเคลื่อนปรัชญาฯ ประสบผลสําเร็จมากขึ้น คําสําคัญ : ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง , การจัดกระบวนการเรียนการสอนปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง , สถานศึกษาพอเพียง , ศูนย การเรียนรู ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด านการศึกษา 172-204 Mac9.indd 172 10/8/13 7:27 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=