ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖

ภัทรพร สิริกาญจน 169 วารสารราชบัณฑิตยสถาน ป ที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เม . ย .- มิ . ย . ๒๕๕๖ ๕ . สรุป ความเรียงว าด วยเสรีภาพ มีพื้นฐานแนวคิดเชิงบวกต อเรื่องความดีและการทําความดี มิลล ถือว า เสรีภาพเป นสิ่งที่ดี ไม ใช เพราะทําให คนเราได ทําอะไรตามใจชอบ แต เพราะทําให เรา เข มแข็ง เป นตัวของตัวเอง และสนใจในการพัฒนาตนเองให ก าวหน าตลอดเวลา เสรีภาพมีคุณค าเพราะ ส งเสริมประโยชน สุขของทั้งมนุษย และสัตว ผู ที่ปราศจากเสรีภาพย อมไม สามารถดํารงอยู อย าง มีคุณภาพชีวิตและมีความสุขสมบูรณ ได อย างไรก็ตาม มิลล อาจวิตกกังวลมากเกินไปว า หากคนส วนใหญ มีเสรีภาพแล วก็อาจไปละเมิดเสรีภาพของคนส วนน อย ทําให เกิดปรากฏการณ ที่เรียกว า “ ทรราชจาก มหาชน ” ซึ่งอันที่จริงอันตรายหรือความเดือดร อนที่ประชาชนได รับตั้งแต อดีตจนถึงป จจุบันที่เรียกว า “ ทรราชจากคนส วนน อย ” (tyranny of minority) จากผู ปกครองและประชาชนด วยกันอาจสร างภัยพิบัติ แก สังคมทั้งสังคมได เช นเดียวกันหรือมากกว าก็ได ดังที่ปรากฏให เห็นในการต อสู ทางการเมือง ในสังคมไทยป จจุบันหลายครั้ง เช น การระดมพรรคพวกจํานวนหนึ่งเพื่อป ดถนนหรือป ดล อมสถานที่ ที่สําคัญบางแห งเพื่อกดดันรัฐบาลและสังคมให ยอมตามข อเรียกร องของกลุ มตน การสร างความ เดือดร อนแก คนส วนใหญ เพื่อให ตนเองหรือกลุ มของตนได สมประโยชน ที่ต องการนั้น บ งบอกถึง การมองข ามความสําคัญของเสรีภาพของประชาชนส วนรวมและเป นการใช ประโยชน จากระบอบ ประชาธิปไตยเพื่อผลประโยชน ส วนตน ปรากฏการณ “ ทรราชจากมหาชน ” และ “ ทรราชจาก คนส วนน อย ” จะไม เกิดขึ้นในสังคมที่มีการศึกษาอย างทั่วถึงและมีจิตสํานึกแบบประโยชน นิยม อย างแท จริงตามที่มิลล ได อธิบายไว แล ว 152-171 Mac9.indd 169 10/8/13 7:25 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=