ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖

The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 38 No. 2 April-June 2013 168 ประโยชน นิยมในความเรียงว าด วยเสรีภาพ ของจอห น สจวร ต มิลล เครื่องมือในการบังคับใช กฎหมายไม สามารถเป นอะไรได มากไปกว า การสอนประชาชนทั่วไป ซึ่งแผ ขยายไปสู เด็กทุกคน โดยเริ่มต นตั้งแต วัยแรก ๆ เด็กทุกคนต องถูกตรวจสอบตามอายุที่ต องกําหนดไว ตายตัวเพื่อให แน ใจว าเขา ( หรือหล อน ) สามารถอ านหนังสือได ถ าปรากฏว าเด็กไม มีความสามารถ บิดาต องถูกปรับตามสมควร ถ าจําเป นก็อาจให ออกไปใช แรงงาน นอกจากว า เขาจะมีเหตุผลแก ตัวเพียงพอ ส วนลูกก็อาจถูกส งเข าโรงเรียนโดยเก็บค าใช จ าย จากบิดา (Mill, 1859: 123) หากพิจารณาแนวคิดโดยรวมของมิลล แล ว จะเห็นได ว า หลักประโยชน นิยมของเขา ส งเสริมเสรีภาพของป จเจกบุคคลและการปกครองแบบประชาธิปไตยอย างชัดแจ ง การที่เขาคิดว า สิ่งที่ดีที่สุดคือสิ่งที่ให ประโยชน มากที่สุดแก คนเป นจํานวนมากที่สุดนั้น ก็เพราะเขาให ความสําคัญ ต อประชาชนซึ่งเป นผู ถูกปกครองและเป นคนส วนมากของรัฐ ไม ใช ผู ปกครองซึ่งเป นคนส วนน อย รัฐจึงมีหน าที่เอื้อประโยชน สุขให ประชาชนให มากที่สุด ไม ใช หาประโยชน จากประชาชน และ การปกครองที่ดีที่สุดในทรรศนะของมิลล คือ ประชาธิปไตยที่อํานาจในการปกครองมาจากประชาชน ประชาชนจะมีอํานาจหรือใช อํานาจในการปกครองได อย างเข มแข็งและมีประสิทธิภาพได ย อมขึ้นอยู กับคุณภาพของประชาชน ในทรรศนะของมิลล ประชาชนที่มีคุณภาพคือประชาชน ที่มีเสรีภาพในการคิดและกระทําตามควรแก สิทธิของตนเองในสังคม ซึ่งจะเป นไปได ด วยความรู ความเข าใจกรอบการใช ชีวิตของตนเองและผู อื่นในสังคมผ านทางกระบวนการการศึกษา สิทธิ และเสรีภาพจึงเป นสิ่งสําคัญในระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยที่มิลล สะท อนให เห็น จากประสบการณ ของเขาในประเทศอังกฤษ หากพิจารณาทรรศนะทางประชาธิปไตยของมิลล แล ว จะเห็นได ว า ระบบการเลือกตั้งและการใช เสรีภาพของประชาชนจะเป นไปอย างสร างสรรค และเอื้อประโยชน ต อป จเจกบุคคลและสังคมส วนรวมได อย างแท จริงก็ต อเมื่อประชาชนมีการศึกษา โดยเฉพาะอย างยิ่ง ในเรื่องสิทธิ เสรีภาพ และหน าที่ของสมาชิกของสังคม และมีความสํานึก ทางจริยธรรมอย างกว างขวาง การที่สังคมไทยยังไม สามารถบรรลุประโยชน สุขจากระบอบการปกครอง แบบประชาธิปไตยได อย างแท จริงนั้น อาจเป นเพราะเรายังขาดความรู ความเข าใจในสาระสําคัญ ของเสรีภาพของประชาชนและระบอบการปกครองดังกล าว ตลอดจนขาดจิตสํานึกแบบประโยชน นิยม ที่มิลล นําเสนอ 152-171 Mac9.indd 168 10/8/13 7:25 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=