ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖

ภัทรพร สิริกาญจน 167 วารสารราชบัณฑิตยสถาน ป ที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เม . ย .- มิ . ย . ๒๕๕๖ ใน ความเรียงว าด วยเสรีภาพ มิลล ได แยกให เห็นความแตกต างระหว างการกระทําที่คํานึงถึง ตนเองกับการกระทําที่คํานึงถึงผู อื่น หลักการนี้ใช ไม ได กับเด็กๆ ซึ่งต องได รับการปกป องดูแลและ ไม ให ทําสิ่งใดที่เป นอันตรายต อตนเอง เป นต น เราจึงไม สามารถปล อยให เด็กมีเสรีภาพอย างเต็มที่ ในการเล น การกินอยู และอื่น ๆ โดยพ อแม และสังคมต องดูแลปกป องตามเกณฑ อายุและสถานการณ ตามที่กฎหมายกําหนดไว มิลล คํานึงถึงเสรีภาพของป จเจกบุคคลเป นอย างมาก โดยเฉพาะอย างยิ่ง เมื่อรัฐเข ามาแทรกแซงเสรีภาพของป จเจกบุคคลโดยใช กฎหมายและบทลงโทษ มิลล เกรงว า การ ปกครองแบบประชาธิปไตยอาจทําให เสรีภาพของป จเจกบุคคลถูกละเมิดได มากขึ้นจากการเป ดโอกาส ให เกิดทรราชจากมหาชน (tyranny of majority) ผ านทางการใช อํานาจรัฐเพื่อจัดการกับคนส วนน อย ที่ไม เห็นด วย การก าวก ายเสรีภาพของป จเจกบุคคลอีกแบบหนึ่งก็คือ การกดดันด วยมติมหาชน หรือการไม ยอมรับของสังคม ซึ่งเป นความพยายามในการบีบบังคับให ทุกคนยอมตาม มิลล กล าวว า ประเทศอังกฤษเป นประเทศเสรี รัฐยุ งเกี่ยวกับป จเจกบุคคลน อยกว าประเทศอื่น ๆ แต การกดดัน จากมติมหาชนมีมากกว า และน าวิตกที่หนังสือพิมพ ซึ่งประชาชนนิยมอ านกันอย างแพร หลาย กลับเป นเครื่องมือที่ทรงพลังในการเป ดโอกาสให แต ละคนสามารถระเบิดความคับแค นดังกล าว ออกมาได (Stafford, 1998: 80) เมื่อมิลล เขียนเกี่ยวกับการกระทําที่กระทบหรือเกี่ยวข องกับผู อื่น เขาหมายถึง การกระทํา ที่กระทบกับผลประโยชน ของผู อื่น กล าวคือ การเมาเหล า การเล นการพนัน และการเกียจคร านไม ทํา การงาน อาจกระทบผู อื่นได ในหลายกรณี แต ไม จําเป นต องละเลิก เพราะการกระทําเหล านั้น โดยตัว ของมันเองไม ได ทําให ผู อื่นเสียประโยชน แต บุคคลผู ใช ความรุนแรงทุกครั้งที่ดื่มเหล า อาจถูกคุมประพฤติ ได และผู ที่เพิกเฉยไม ทํามาหากินเพื่อเลี้ยงดูบุตรจนบุตรอดอยาก จะต องถูกบังคับให หางานทํา มิลล คิดว า อาจเป นอันตรายอย างยิ่งต อเสรีภาพ ถ าเราจะห ามการกระทําใดก็ตาม เพียงเพราะคิดว า มันจะเป นภัยต อผลประโยชน ของผู อื่น ถ าคิดเช นนี้ เราคงต องก าวก ายเสรีภาพของป จเจกบุคคล อย างไม มีที่สิ้นสุด การละเมิดเสรีภาพของป จเจกบุคคลควรเกิดขึ้นในกรณีที่เรามองเห็นอันตราย ที่เกิดขึ้นในขณะนั้นอย างชัดเจนเท านั้น (Stafford, 1998: 93–95) ในบางกรณี รัฐจําเป นต องแทรกแซงเสรีภาพของป จเจกบุคคลโดยใช อํานาจบังคับทางกฎ ระเบียบของสังคมและทางกฎหมาย มิลล เห็นว า การใช อํานาจบังคับไม ได หมายถึงการใช ความรุนแรง เสมอไป แต รัฐจําเป นต องควบคุมเสรีภาพของประชาชนโดยเฉพาะอย างยิ่งผู ที่ไม มีความรับผิดชอบ และไม มีความสามารถในการพัฒนาตนเองได เช น เด็ก และผู ที่เป นบิดามารดาบางคน ดังที่เขาเสนอ ความคิดว า 152-171 Mac9.indd 167 10/8/13 7:25 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=