ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖

The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 38 No. 2 April-June 2013 166 ประโยชน นิยมในความเรียงว าด วยเสรีภาพ ของจอห น สจวร ต มิลล และอีกตอนหนึ่งว า ในประเทศนี้ ( ประเทศอังกฤษ ) และในอารยประเทศอื่น ๆ ส วนมาก พันธสัญญาที่กําหนดให บุคคลต องขายตัวเป นทาสหรือยินยอมให ตนเองถูกขาย เป นทาส ย อมจะเป นโมฆะ และใช การไม ได และไม ถูกบังคับใช โดยกฎหมาย หรือโดยความคิดเห็น (Mill, 1859: 118) มิลล เชื่อว า สิ่งที่เป นปฏิป กษ อย างแท จริงต อเสรีภาพของป จเจกบุคคลนั้นไม ใช อํานาจทรราช จากรัฐ แต เป นพลังกดขี่จากมหาชนต างหาก เขากล าวอย างหนักแน นว า เสรีภาพมีความหมายต อ ชาวอังกฤษเหนือสิ่งอื่นใด แม ชาวอังกฤษยังล าหลังชาวยุโรปชาติอื่น ๆ ในเรื่องมโนธรรมและขันติธรรม ทางสังคม (Mill, 1859: (1)–(2)) ใน ความเรียงว าด วยเสรีภาพ มิลล ตั้งใจปกป องจริยธรรมแบบประโยชน นิยมและแสดงพื้นฐาน ของหลักประโยชน นิยมที่ไม สนับสนุนให บุคคลกระทําเกินหน าที่ของตนเอง แต ให ทําตามหน าที่ ที่พึงกระทํา และด วยเหตุนี้เอง จึงเป นการป องกันอันตรายที่อาจจะเกิดแก ผู อื่น เสรีภาพส วนบุคคล จึงไม สามารถแยกออกจากเสรีภาพของสังคมได และรัฐมีหน าที่ให ความคิดและเป นพลังอันทรงคุณค า ของสังคมต อไปได ดังที่มิลล กล าวไว ตอนหนึ่งว า ไม มีสังคมใดเลยที่จะเป นเสรีอย างสิ้นเชิง ถ าเสรีภาพเหล านี้ ( เสรีภาพ ในการแสดงความคิดเห็น และเสรีภาพในการแสดงออก เป นต น ) มิได ดํารงอยู อย างโดดเด นและปราศจากเงื่อนไขในสังคมนั้น เสรีภาพเพียงประการเดียว ที่สมนามของสังคมก็คือเสรีภาพในการเดินตามคุณความดีของเราเอง ด วยวิธีของเราเอง ตราบใดที่เราไม ได พยายามฉกชิงเสรีภาพไปจากผู อื่น หรือขัดขวางความพยายามของผู อื่นที่จะได รับเสรีภาพ (Mill, 1859: 13–14) ในครึ่งแรกของคริสต ศตวรรษที่ ๒๐ งานเขียนของมิลล เรื่อง ประโยชน นิยม และ ความเรียงว าด วยเสรีภาพ มีผู อ านอย างกว างขวางมากที่สุดในประเทศอังกฤษ และเป นหนังสือ อ านมาตรฐานในตารางสอนของวิชาปรัชญา วิชาการเมือง และวิชาประวัติศาสตร ของมหาวิทยาลัย ต าง ๆ อย างไรก็ตาม นักคิดบางคนมีทรรศนะว า งานเขียนทั้ง ๒ เรื่องนี้มีแนวต างกัน ประโยชน นิยม แสดงแนวคิดว า เราต องส งเสริมสิ่งที่ดีซึ่งได แก ความสุข ส วน ความเรียงว าด วยเสรีภาพ ยืนยันว า ตราบใดที่การกระทําของบุคคลเป นเรื่องส วนตัว เราก็ไม ควรเข าไปยุ งเกี่ยว แม จะเพื่อประโยชน สุข ของเขาก็ตาม งานเขียนเรื่อง ประโยชน นิยม ให ความสําคัญต อความสุขมากที่สุด ส วน ความเรียงว าด วย เสรีภาพ ให ความสําคัญต อเสรีภาพ ปรากฏการณ นี้อาจเกิดจากพัฒนาการทางความคิดของจอห น สจวร ต มิลล ในบริบททางสังคมและช วงเวลาที่แตกต างกันก็ได 152-171 Mac9.indd 166 10/8/13 7:25 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=