ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖

ภัทรพร สิริกาญจน 165 วารสารราชบัณฑิตยสถาน ป ที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เม . ย .- มิ . ย . ๒๕๕๖ ในยุคนั้น ไม ว าศาสนจักรจะสอนสิ่งที่จริงหรือเท็จก็ตาม สังคมก็ยอมรับโดยดี ความเป นป กแผ นของ ยุคกลางจึงขึ้นอยู กับคําสอนในคริสต ศาสนาอย างงมงายไร เหตุผล ดังที่เขากล าวไว ในตอนหนึ่งของ ความเรียงว าด วยเสรีภาพ ว า คริสต จริยธรรม ( ตามที่เรียกกัน ) มีลักษณะเป นปฏิกิริยาทุกประการ ส วนมากแล วเป นการต อต านลัทธิของคนนอกศาสนา อุดมคติของคริสต จริยธรรม ก็เป นแง ลบมากกว าแง บวก ตั้งรับมากกว าแสดงออก มีความไร เดียงสามากกว า มีความประเสริฐสุด มีความงดเว นจากความชั่วมากกว าที่จะออกแสวงหาความ ดีงามอย างกระตือรือร น ในคําสอนของคริสตธรรม ( ที่กล าวไว อย างดี ) คําว า “ เจ าต องไม ” แพร หลายกว า “ เจ าต อง ” จนเกินควร ... คริสต จริยธรรมเป นหลัก คําสอนว าด วยการอยู ในโอวาทแต ถ ายเดียวโดยแท (Mill, 1859: 56) ในตอนต นของคริสต ศตวรรษที่ ๑๖ ศาสนจักรมิได มีบทบาทครอบงําประชาชนด วยคําสอน ที่มิลล ถือว าไร สาระอีกต อไปเพราะเกิดการปฏิรูปศาสนาขึ้น ศาสนจักรจึงลดอํานาจในการครอบงําจิต วิญญาณของประชาชน นอกจากนั้น ความล มเหลวของการปกครองแบบราชาธิปไตย และอภิชนาธิปไตย (Aristocracy) ของยุโรปได ก อให เกิดความเคลื่อนไหว ๒ ประการ คือ ๑ ) ความพยายามที่จะสร าง องค ความรู ที่ใช เหตุผลในคริสต ศตวรรษที่ ๑๘ และ ๒ ) เกิดปฏิวัติฝรั่งเศสใน ค . ศ . ๑๗๘๙ ซึ่งแสดงถึง เสรีภาพของมนุษย และเสรีภาพของประชาชน มิลล ไม ได คิดว าเสรีภาพเป นสิ่งที่ดีในตัวเองหรือมีอยู ตามธรรมชาติ เขาเห็นว าสิ่งที่ดีไม ได เกิดจากธรรมชาติ แต เกิดจากมนุษย เข าปรับปรุงและดัดแปลง ธรรมชาติทั้งสิ้น มิลล ไม เห็นด วยกับการแสวงหาเสรีภาพส วนบุคคล เขาคิดว าป จเจกบุคคลควรมีเสรีภาพ ในเงื่อนไขทางสังคม ป จเจกบุคคลจะทําอะไรก็ได ถ าเขาไม สร างความเดือดร อนให ผู อื่นหรือส วนรวม และ ควรได รับการสนับสนุนให แสดงความคิดเห็นได อย างเสรี เพราะถ าปราศจากความคิดเห็นที่แตกต างกัน และเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น สังคมก็จะอยู ได ยาก มิลล ยํ้าว า เสรีภาพทางความคิดจะนําไปสู ประโยชน สุขของมนุษย ได มากที่สุด นอกจากนั้น รัฐบาลจะเข าแทรกแซงเสรีภาพของป จเจกบุคคลได ก็ต อเมื่อการกระทํานั้นเป นไปเพื่อเพิ่มพูนประโยชน สุขของประชาชนส วนรวม เช น การคํ้าประกัน ความปลอดภัยและการลดทอนความไม เสมอภาค ดังที่มิลล กล าวไว ใน ความเรียงว าด วยเสรีภาพ ว า มีการกระทําหลายอย างซึ่งเป นอันตรายโดยตรงเพียงต อตัวผู กระทําเอง เท านั้น ย อมไม ควรต องถูกสั่งห ามตามกฎหมาย แต ถ าการกระทําดังกล าวเกี่ยวข อง กับคนทั่วไปตลอดจนเป นการทําลายแบบอย างที่ดีลงไปแล วนั่นแหละ จึงเข าข าย การทําผิดต อผู อื่นตามกฎหมาย และอาจถูกบัญญัติห ามได อย างชอบธรรม (Mill, 1859: 113) 152-171 Mac9.indd 165 10/8/13 7:25 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=