ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖

The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 38 No. 2 April-June 2013 164 ประโยชน นิยมในความเรียงว าด วยเสรีภาพ ของจอห น สจวร ต มิลล ชอบธรรมแม จะฝ นเจตนารมณ ของเขาก็คือ การป องกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นต อผู อื่น หลักการนี้ แสดงให เห็นการสนับสนุนเสรีภาพของป จเจกบุคคลก อนหน านั้น แต เขากลับอ างถึงประโยชน สุข (utility) โดยยืนยันว า ประโยชน สุขเป นคําตอบสุดท ายของป ญหาจริยธรรมทุกข อ ดังที่มิลล กล าวไว ตอนหนึ่งว า ป จเจกชนไม ต องรับผิดชอบต อสังคมในการกระทําของเขา ตราบเท าที่ การกระทําเหล านี้ไม ได เกี่ยวข องกับผลประโยชน ของผู ใดนอกจากตัวของเขาเอง ... ป จเจกชนย อมต องรับผิดชอบและอาจขึ้นอยู กับการลงโทษทางสังคม หรือทางกฎหมาย ถ าสังคมมีความเห็นว าคนใดคนหนึ่งก็ตามจําเป นต องได รับ ความคุ มครองจากสังคม (Mill, 1859: 108) การที่มิลล เชิดชูเสรีภาพของป จเจกบุคคล ( ซึ่งหมายถึงสิทธิของคนทุกคนที่จะทําสิ่งที่เขา เห็นว าเหมาะสมถ าการกระทํานั้นไม ได ขัดแย งกับสังคม ) ทําให บรรดาชนชั้นกลางผู เป นเจ าของโรงงาน และนักธุรกิจในคริสต ศตวรรษที่ ๑๙ พากันชอบใจเพราะบ งบอกถึงการยอมรับการก าวก ายของรัฐบาล ในเรื่องส วนบุคคลเฉพาะที่จําเป นเท านั้น และยืนยันว า รัฐบาลที่ดีที่สุดคือรัฐบาลที่ปกครองน อยที่สุด โดยปล อยให ป จเจกบุคคลมีเสรีภาพในการพัฒนาความสามารถของตน มิลล คิดเช นเดียวกับเบนทัมว า การปกครองที่ดีที่สุดคือการปกครองระบอบประชาธิปไตย แต ชนชั้นกลางส วนใหญ ไม ได นิยมประชาธิปไตย ข อเสนอของมิลล ที่ต องการให รัฐบาลเข าแทรกแซง เพื่อปกป องเด็ก ผู ใช แรงงาน และยกระดับคุณภาพของที่อยู อาศัยและการทํางานของผู ใช แรงงาน จึงไม ได รับความสนใจ นอกจากนั้น มิลล ยังวิพากษ วิจารณ ความไม เป นธรรมทางเศรษฐกิจและ ความไม เสมอภาคทางสังคม เขาแสดงความเห็นอกเห็นใจอย างยิ่งต อชะตากรรมของชนชั้นล าง ของสังคม และเรียกร องให รัฐบาลปล อยป จเจกบุคคลให เป นอิสระ ตลอดจนให ชนชั้นกลางเห็นอกเห็นใจ ชนชั้นล างตลอดคริสต ศตวรรษที่ ๑๙ (Strayer, Gatzke, and Harbison, 1974: 579) ในงานเขียนเรื่อง ความเรียงว าด วยเสรีภาพ มิลล ได แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องเสรีภาพ ไว อย างกว างขวาง เขาเรียกร องให ทุกคนมองเห็นความจําเป นที่ต องมีเสรีภาพส วนบุคคลซึ่งเป นเสรีภาพ ขั้นพื้นฐานของมนุษย เช น เสรีภาพในการมีความคิดเห็นและแสดงความคิดเห็น เสรีภาพในการ ดําเนินชีวิตโดยไม เป นอันตรายหรือกระทบกระเทือนผู อื่น และเสรีภาพในการรวมกลุ มทางสังคมด วย ความสมัครใจ ไม เป นภัยต อผู อื่น และมีความเหมาะสมด านวัยวุฒิ (Mill, 1859: 13) มิลล ชี้ให เห็นว า คุณธรรมทางคริสต ศาสนาจะไร ค าถ ามนุษย ปราศจากเสรีภาพ ความสามารถในการใช เหตุผล และ ประโยชน สุขในการดํารงชีวิต เขาเห็นว า ศาสนจักรในยุคกลางเป นศูนย รวมของความคิดเห็นของสังคม 152-171 Mac9.indd 164 10/8/13 7:25 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=