ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖

ภัทรพร สิริกาญจน 163 วารสารราชบัณฑิตยสถาน ป ที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เม . ย .- มิ . ย . ๒๕๕๖ ช วยเหลือผู ยากไร ในหมู บ านและไม ยอมใช เงินคืนเพื่อน โดยถือว า เราเอาเงินไปเพื่อประโยชน สุขของมหาชน แต เราควรตระหนักว า เมื่อเราขอยืมเงินเพื่อน เขาย อมหวังว า เราจะใช เงินคืน และเราก็มีพันธะที่จะต อง คืนเงินตามเวลาที่กําหนด การยืมเงินของเราทําให เพื่อนมีความทุกข และการกระทําของเราไม เป นธรรม กับเพื่อน แม จะทําให คนทั้งหมู บ านมีความสุขก็ตาม ในทํานองเดียวกัน การนํามนุษย มาทดลองยา แม ผลสําเร็จของแพทย จะทําให คนจํานวนมากหายป วยได แต ก็ไม เป นธรรมกับผู ที่ถูกทดลองยา (Olen and Barry, 1999: 8) ๓ ) หลักความเคารพต อบุคคลมีความเกี่ยวเนื่องกับหลักความเป นธรรม ทําให เราปฏิบัติต อ คนแต ละคนอย างเท าเทียมกันในทางสังคมและทางกฎหมาย เช น ถ าคนทั่วไปเข าไปเดินเล นใน สวนสาธารณะได เราก็ย อมมีสิทธิเข าไปได เช นกัน ปรัชญาตะวันตกโดยทั่วไปถือว า มนุษย มีสิทธิ ตามธรรมชาติมาตั้งแต เกิด เช น สิทธิในการมีชีวิตและการใช ชีวิต มีเสรีภาพและมีสิทธิในทรัพย สิน ของตน สิทธิดังกล าวนี้ ผู อื่นจะละเมิดมิได และเราก็ละเมิดผู อื่นมิได มิลล มีทรรศนะว าเสรีภาพของ ป จเจกบุคคลที่เป นของเราอย างชอบธรรมนั้น จะต องเป นสิ่งที่เพิ่มพูนความสุขของมนุษย เสรีภาพ ที่ไม สามารถสร างสรรค ความสุขของมนุษย ให เติบโตได นั้น ก็คือเสรีภาพในการทําร ายผู อื่น (Mill, 1859: 120–121) แนวคิดประโยชน นิยมของจอห น สจวร ต มิลล ส งเสริมให เราใส ใจกับผลของการกระทําของ เราทั้งในระยะสั้นและระยะยาว หากพิจารณาตัวอย างของการกระทํา เช น การยึดเงินคนรวย ๑ คน มาแบ งให คนจน ๕๐ คน จะเป นประโยชน นิยมหรือไม เพราะคน ๕๐ คนย อมมีความสุขมากกว าคน ๑ คน แต ถ าทําเช นนี้ คนรวย ๑ คนดังกล าวก็อาจทําให คนรวยคนอื่น ๆ ทั้งสังคมเกิดความรู สึกไม มั่นคง ในการครอบครองทรัพย สินของตน ซึ่งอาจทําให เศรษฐกิจป  นป วนและทําให คนทั้งสังคมปราศจาก ความสุข ความรู สึกมั่นคงในชีวิตของบุคคลเป นสิ่งสําคัญและเกิดขึ้นได ในสังคมที่มีกฎเกณฑ ไม ใช การทําอะไรก็ได เพื่อให คนส วนมากมีความสุข ๔ . ประโยชน นิยมกับเสรีภาพและประชาธิปไตย จอห น สจวร ต มิลล มีงานเขียนที่เด นดังอยู เรื่องหนึ่งคือ ความเรียงว าด วยเสรีภาพ เขาระบุจุดมุ งหมายในการเขียนเรื่องนี้ว าเพื่อสร างหลักการพื้นฐานในการจัดระเบียบความสัมพันธ ระหว างป จเจกบุคคลกับสังคม หรือระหว างประชาชนกับรัฐบาล หลักการนี้มีอยู ว า จุดหมายเพียง ประการเดียวของมนุษย ที่เข าไปยุ งกับเสรีภาพในการกระทําของป จเจกบุคคลก็คือ การปกป องตนเอง และความมุ งหมายเพียงประการเดียวในการใช อํานาจบังคับสมาชิกคนใดก็ตามของสังคมอารยะอย าง 152-171 Mac9.indd 163 10/8/13 7:25 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=