ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖
ภัทรพร สิริกาญจน 161 วารสารราชบัณฑิตยสถาน ป ที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เม . ย .- มิ . ย . ๒๕๕๖ อังกฤษในเวลาต อมา เจมส มิลล ผู เป นบิดาได พามิลล ไปรู จักเพื่อน ๆ ที่มีบทบาทสําคัญหลายคน เช น เดวิด ริคาร โด และเจเรมี เบนทัม มิลล ได อ านงานเขียนของเบนทัมครั้งแรกเมื่อมีอายุได ๑๕ – ๑๖ ป และเริ่มมีความคิดแบบประโยชน นิยมมาตั้งแต บัดนั้น ความเป นนักประโยชน นิยมทําให มิลล เริ่มบทบาท การเคลื่อนไหวทางสังคมเพื่อประโยชน สุขของส วนรวม เขาและพรรคพวกที่เป นสาวกของเบนทัม ได รณรงค เรื่องการคุมกําเนิดประชากรตามแนวคิดของมัลทัส (Malthus, ค . ศ . ๑๗๗๖ – ๑๘๓๔ ) นัก ปรัชญาเศรษฐศาสตร คนสําคัญผู เสนอทรรศนะว า ผู ใช แรงงานจะไม มีวันเจริญก าวหน า ถ าพวกเขาไม รู จัก คุมกําเนิด มิลล ได มอบงานเขียนชิ้นหนึ่งที่แสดงแนวคิดเรื่องการคุมกําเนิดอย างละเอียดให แก กลุ ม ผู หญิงที่มีอาชีพเป นคนรับใช ทําให เขาถูกจับกุม แต ต อมาได รับการประกันตัวออกไป ทั้งนี้เพราะใน คริสต ศตวรรษที่ ๑๙ สังคมทั่วไปของอังกฤษยังถือว า การคุมกําเนิดด วยวิธีทางการแพทย เป นสิ่งที่ น ารังเกียจและผิดศีลธรรม มิลล มีความสนใจและมีกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง อย างโดดเด นในประเทศอังกฤษ เขามักสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับคนรุ นหนุ ม ที่มีความคิดทํานองเดียวกัน และร วมถกเถียงอภิปรายกับพวกนักคิดแนวสังคมนิยมในสมาคมต าง ๆ เช น สมาคมประโยชน นิยม (the Utilitarian Society) ใน ค . ศ . ๑๘๒๒ – ๑๘๒๓ และสมาคมโต วาที ลอนดอน (the London Debating Society) เมื่อ ค . ศ . ๑๘๒๕ – ๑๘๒๙ ซึ่งมิลล เข าใจว า คนพวกนี้ กําลังเตรียมตัวเข าสู วงการเมืองในช วงหลังของ ค . ศ . ๑๘๒๖ มิลล เริ่มมีอาการป วยทางจิตอย างรุนแรง จนทําให เกิดอาการกล ามเนื้อใบหน ากระตุกอย างถาวร ใน ค . ศ . ๑๘๓๖ ซึ่งเป นป ที่บิดาของเขาเสียชีวิต ต อมาใน ค . ศ . ๑๘๕๑ มิลล ได แต งงานกับแม ม ายชื่อ แฮร เรียต เทย เลอร (Harriet Taylor) และมี อาการป วยเป นวัณโรคภายหลังการแต งงานเพียง ๑ ป มิลล และภรรยาได ช วยกันผลิตงานเขียน เพื่อเผยแพร แนวคิดประโยชน นิยมในลักษณะต าง ๆ สู สังคม ในช วง ค . ศ . ๑๘๕๙ – ๑๘๖๓ มิลล ได เผยแพร ผลงานทางปรัชญาที่สําคัญออกสู สาธารณะ กล าวคือ เขาได พิมพ งานเขียนเรื่อง ความเรียงว าด วย เสรีภาพ (On Liberty) ใน ค . ศ . ๑๘๕๙ และ ประโยชน นิยม (Utilitarianism) ใน ค . ศ . ๑๘๖๓ เป นต น หลังจากที่ภรรยาเสียชีวิต มิลล ได มีบทบาททางการเมืองอย างจริงจัง เขาโจมตีความคิดของคนชั้นกลาง และคนชั้นสูงในอังกฤษและสนับสนุนฝ ายเหนือในสงครามกลางเมืองของอเมริกา มิลล คิดว า สงครามกลางเมืองเป นสงครามต อต านการมีทาส เขามีความเห็นอกเห็นใจชนชั้นกรรมาชีพ ในสายตาของ คนทั่วไป เขากลายเป นผู นําแสงสว างในวงการเสรีนิยม ใน ค . ศ . ๑๘๖๗ มิลล ได รับการเลือกตั้งเป น สมาชิกสภาผู แทนราษฎร และได เป นอธิการบดีของมหาวิทยาลัยเซนต แอนดรูวส (St. Andrews University) ในเวลาต อมา จนถึงแก กรรมเมื่อ ค . ศ . ๑๘๗๓ (Stafford, 1998: 3-12) 152-171 Mac9.indd 161 10/8/13 7:25 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=