ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖

The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 38 No. 2 April-June 2013 158 ประโยชน นิยมในความเรียงว าด วยเสรีภาพ ของจอห น สจวร ต มิลล ที่ ๑๙ พวกเขากลับเรียกร องประโยชน สุขตามหลัก “ ความสุขมากที่สุดสําหรับคนเป นจํานวนมาก ที่สุด ” โดยอ างถึงความสุขที่ตนและสังคมควรได รับจากรัฐ ทรรศนะดังกล าวนี้เรียกว า ประโยชน นิยม ผู ที่ก อตั้งแนวคิดประโยชน นิยม คือ เจเรมี เบนทัม (Jeremy Bentham, ค . ศ . ๑๗๔๘ – ๑๘๓๒ ) ถือเป น การพัฒนาแนวคิดแบบเสรีนิยมจากคริสต ศตวรรษที่ ๑๘ มาสู คริสต ศตวรรษที่ ๑๙ เบนทัมถือว า สถาบันทางสังคมไม ได อิงอาศัยกฎธรรมชาติ หากแต อาศัยประโยชน ที่สมาชิกของสังคมพึงจะได เบนทัมประกาศว า ความสุขที่บุคคลจะได รับและเสรีภาพจากความเจ็บปวดของตนเองเป นความดี เมื่อนําความคิดนี้ไปใช ในทางการเมือง ก็หมายความว า ระบอบการปกครองที่ดีที่สุดคือระบอบการ ปกครองที่คํ้าประกันความสุขอย างมากที่สุดและก อความทุกข น อยที่สุดแก ประชาชนส วนใหญ เบนทัม เชื่อว าระบอบการปกครองเช นนี้ก็คือระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย (Strayer, Gatzke, and Harbison, 1974: 578) ส วนเรื่องเสรีภาพนั้นเป นเรื่องรองและจะมีความหมายก็ต อเมื่อ ให ประโยชน สุขแก ประชาชนเท านั้น ประโยชน นิยม คือ ทรรศนะทางจริยศาสตร ที่ถือเอาประโยชน สุขเป นเกณฑ ตัดสินความผิด ถูกดีชั่ว กล าวคือ การกระทําที่ก อประโยชน สุขมากที่สุดแก คนจํานวนมากที่สุด ถือว าเป นการกระทําที่ดี ที่สุด เป นแนวคิดที่ถือหลักมหสุข (the principle of greatest happiness) หรือหลักประโยชน สุขสูงสุด (the principle of greatest utility) เป นเกณฑ ในการพิจารณาเรื่องต าง ๆ ทางจริยศาสตร โดยเกณฑ นี้ถือเอาผลที่เกิดจากการพิจารณาทางจริยธรรมเป นตัวตัดสิน เราอาจแบ งประโยชน นิยม ออกได เป น ๒ ประเภท คือ ประโยชน นิยมทางการกระทํา (Act Utilitarianism) และประโยชน นิยม ทางกฎเกณฑ (Rule Utilitarianism) ประโยชน นิยมทางการกระทํา ใช การกระทําแต ละครั้ง เป นเกณฑ ในการพิจารณา ส วนประโยชน นิยมทางกฎเกณฑ ใช กฎแต ละกฎเป นเกณฑ ในการพิจารณา อย างไรก็ตาม ประโยชน นิยมทั้ง ๒ ประเภทนี้ก็ไม มีความแตกต างกันอย างเด นชัด เพราะกฎเกณฑ ก็มาจากการกระทําแต ละครั้งนั่นเอง ลัทธิประโยชน นิยมปรากฏชัดเจนในต นคริสต ศตวรรษที่ ๑๙ เมื่อนักคิดชาวอังกฤษกลุ มหนึ่งเคลื่อนไหวเพื่อสนับสนุนร างพระราชบัญญัติการปฏิรูปอังกฤษท ศวรรษ ๑๘๓๐ โดยมีผู นําคือ เจเรมี เบนทัม ซึ่งเป นผู นําคํา utilitarianism มาใช ใน ค . ศ . ๑๗๘๑ แนวคิดของเบนทัมในเรื่องประโยชน นิยมมีหลักอยู ๓ ประการ คือ ๑ ) การกระทําจะถูกหรือผิด พิจารณาได จากผลของมัน ถ าการกระทํานั้นให ผลดี การกระทํา นั้นก็ตัดสินได ว าดี ถ าให ผลชั่ว การกระทํานั้นก็ชั่ว ๒ ) “ ดี ” หมายถึง ความสุข ความเพลิดเพลิน ส วน “ ชั่ว ” หมายถึง ความทุกข ความเจ็บปวด 152-171 Mac9.indd 158 10/8/13 7:25 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=