ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖

ภัทรพร สิริกาญจน 157 วารสารราชบัณฑิตยสถาน ป ที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เม . ย .- มิ . ย . ๒๕๕๖ 1762: 3-5) รูโซเชื่อว า เขาไม มีทางรู สึกมีเสรีได จนกว าจะได อยู ในสังคมที่ตนเองและผู อื่นสละสิ่ง ต าง ๆ ได เหมือนกัน ชุมชนนั้นต องไม มีการแบ งแยกระหว างผู ปกครองกับผู ถูกปกครอง ทุกคน สามารถปกครองตนเองได กล าวคือ เป นสังคมแบบประชาธิปไตย (democracy) ที่มีลักษณะ บริสุทธิ์และเรียบง ายที่สุด เป นสังคมที่มีประชาชนผู จงรักภักดีและขยันขันแข็งอาศัยกันอยู อย าง หนาแน น ไม มีผู ใดมาตรวจสอบเจตจํานงของชุมชนเพราะทุกคนยอมรับเจตจํานงร วม (general will) เสมือนเป นเจตจํานงของตนเอง รูโซเห็นว า ชีวิตมนุษย ในสภาพธรรมชาติมีเสรีภาพมากกว าชีวิตในสังคม และดูเหมือนเขาจะมองสังคมในด านลบ ดังที่เขากล าวไว ในตอนต นของงานเขียนเรื่อง สัญญาประชาคม (Rousseau, 1762: 3) ว า “ มนุษย เกิดมาเสรี แต เขาถูกพันธนาการอยู ทั่วทุกแห งหน ผู เชื่อว า ตนเป นนายคนอื่น กลับเป นทาสเสียยิ่งกว า การเปลี่ยนแปลงนี้เกิดขึ้นได อย างไร ข าพเจ าไม ทราบ จะทําให การเปลี่ยนแปลงนี้ถูกต องตามกฎหมายได อย างไร ข าพเจ าเชื่อว า ตอบคําถามนี้ได ถ าพิจารณาเพียงเรื่องอํานาจและผลของมัน ข าพเจ าก็จะพูดว า : “ เมื่อประชาชนถูกบังคับให เชื่อฟ ง เขาก็จะเชื่อฟ ง เขาย อมทําดีแล ว แต ทันที ที่เขาสามารถสลัดแอกทิ้งไปได เขาก็สลัดมันทิ้งไป เขาทําได ดียิ่งขึ้นเพราะสิทธิ ที่เขาใช เพื่อเอามันไปจากเขา จะพูดว าประชาชนมีสิทธิที่จะเอาเสรีภาพของตนคืน มาก็ได หรือจะบอกว าไม มีใครมีสิทธิแย งมันไปก็ได เหมือนกัน ” งานเขียนเรื่อง สัญญาประชาคม มีอิทธิพลอย างมากต อการปฏิวัติฝรั่งเศสใน ค . ศ . ๑๗๘๙ หลังจากที่รูโซได เสียชีวิตไปแล ว และทฤษฎีสัญญาประชาคมก็ได ลดความสําคัญลงไป เมื่อมีแนวคิดแบบ ประโยชน นิยม (Utilitarianism) ขึ้นมาในปลายคริสต ศตวรรษที่ ๑๘ ๒ . ความหมายและความสําคัญของแนวคิดแบบประโยชน นิยม ในตอนต นของคริสต ศตวรรษที่ ๑๙ ความคิดแบบเสรีนิยม (Liberalism) เริ่มแพร หลาย ในยุโรป นักเสรีนิยมคือผู ที่เชื่อในเสรีภาพซึ่งหมายถึงเสรีภาพทางความคิด เสรีภาพในการนับถือศาสนา เสรีภาพจากข อจํากัดทางเศรษฐกิจ เสรีภาพทางการค า และเสรีภาพจากความอยุติธรรมทางการเมือง ของระบอบการปกครองแต เก าก อน เสรีภาพเหล านี้เป นสิ่งที่นักคิดภูมิป ญญาเคยเรียกร องมาแล ว พวกนักปรัชญาฝรั่งเศสโดยทั่วไปถือกันว า คนทุกคนมีสิทธิตามธรรมชาติบางประการ ได แก สิทธิในการ มีชีวิต สิทธิในการมีเสรีภาพส วนบุคคล และสิทธิในการครอบครองทรัพย สินของตน ในคริสต ศตวรรษ ที่ ๑๘ พวกชนชั้นกลางก็เรียกร องสิทธิเหล านี้โดยอ างถึงกฎธรรมชาติ แต ต อมาในคริสต ศตวรรษ 152-171 Mac9.indd 157 10/8/13 7:25 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=