ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖

The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 38 No. 2 April-June 2013 156 ประโยชน นิยมในความเรียงว าด วยเสรีภาพ ของจอห น สจวร ต มิลล เป นทฤษฎีการเมืองที่อธิบายการเกิดขึ้นของสังคมหรือรัฐว า ป จเจกบุคคลตระหนักดีว า การใช ชีวิต อย างอิสระตามธรรมชาติและใช สิทธิของตนเองตามใจชอบ ย อมทําให เกิดความขัดแย งกับผู อื่นและ ไม สามารถดํารงชีวิตอยู อย างปลอดภัยและสุขสบายได จึงตกลงทําพันธสัญญาเพื่ออยู ร วมกันเป นสังคม โดยยกสิทธิบางส วนของตนให ผู ปกครองเพื่อให ดูแลความปลอดภัยและอํานวยประโยชน แก ตน การทําสัญญานี้ เป นสัญญาประชาคมระหว างป จเจกบุคคลด วยกัน และระหว างป จเจกบุคคลกับ ผู ปกครอง แนวคิดเรื่องสัญญาประชาคมเริ่มปรากฏในสมัยกรีก ดังเห็นได จากผลงานของเพลโตเรื่อง กอร เจียส (Gorgias) และ ริพับลิก (Republic) โดยแสดงการเกิดขึ้นของรัฐ การปกครอง และธรรมชาติ ของมนุษย ตามทฤษฎีการเมืองดังกล าว ทั้งล็อกและรูโซต างเชื่อมั่นว า มนุษย มีธรรมชาติที่ดีงาม (Reese, 1980: 533) แต ที่ต องยอมสละเสรีภาพที่ตนมีอย างเต็มเป  ยมในชีวิตดั้งเดิมตามธรรมชาตินั้น ก็เพราะต องการความสะดวกสบายและความปลอดภัยในชีวิต ล็อกมีทรรศนะว า ในสภาวะธรรมชาติ มนุษย มีเสรีภาพเต็มที่ตามที่ตนต องการ และทุกคนมีความเท าเทียมกัน เราไม อาจใช เสรีภาพทําลายล าง กันได เพราะเสรีภาพและกฎธรรมชาติเป นสิ่งที่เราทุกคนได รับมาจากพระเป นเจ า สภาวะธรรมชาติ ไม ใช สภาวะสงคราม แต เป นสภาวะที่ทุกคนแสวงหาผลประโยชน ได เพื่อการดํารงอยู ของตน ความขัดแย ง และการทําลายล างกันเกิดขึ้นเพราะคนบางคนละเมิดสิทธิของผู อื่น เช น โดยการลักขโมย การ เอารัดเอาเปรียบ เมื่อไม สามารถจัดการกับป ญหาและไม มีอํานาจชี้ขาด เราจึงต องการอํานาจ ทางการเมือง ผู ปกครอง และสังคม ที่มีอํานาจในการปกครอง เมื่อคนเราต องการปกป องชีวิต และทรัพย สินของตน จึงตัดสินใจละทิ้งภาวะธรรมชาติและทําสัญญาเพื่ออยู ร วมกันอย างสงบสุข เป นสัญญาทางสังคมที่เรียกว า สัญญาประชาคม [Rousseau, 1762: (19)–(20)] ล็อกคิดว า การที่ คนเราจะได รับเสรีภาพทางการเมืองนั้น จะต องมีการคํ้าประกันสิทธิส วนบุคคลและจัดแบ งหน วยงาน ต าง ๆ ของรัฐบาลให คานอํานาจกัน ส วนรูโซเห็นว า เสรีภาพทางการเมืองหมายถึงความเต็มใจ ในการยอมรับ เชื่อฟ งกฎหมายที่แต ละคนมีส วนสร างขึ้น รูโซเป นนักวิจารณ สังคมยุคภูมิป ญญา เขาไม พอใจสังคมที่ตนใช ชีวิตอยู ไม ชอบผู ปกครองที่ขึ้นสู ตําแหน งด วยการสืบสายเลือด และไม ชอบ ขุนนางที่มีสิทธิพิเศษ เขาต องการให ประชาชนเป นสมาชิกของสังคมด วยความสมัครใจและ สละสิทธิส วนบุคคลให สังคมด วยความสมัครใจ เขาคิดว า มนุษย ยอมสละเสรีภาพของตนเมื่อมาอยู ในสังคมและสิทธิในสังคมไม ได เป นสิทธิตามธรรมชาติ กล าวคือ ในชีวิตตามสภาพธรรมชาติ มนุษย เรามีเสรีภาพอย างเต็มที่ เราต องดูแลตนเองและดํารงชีวิตอยู ให รอด เมื่อมนุษย ทําเช นนี้ ไม ได ตามลําพัง แต จําเป นต องอาศัยผู อื่น มนุษย ก็ต องเข าสู ระบบสังคม สังคมแบบดั้งเดิม และ พื้นฐานที่สุดก็คือครอบครัว ครอบครัวจะดํารงอยู ได ก็ด วยความสมัครใจที่จะอยู ร วมกัน ถ ามนุษย ไม สมัครใจให พ อแม อุ มชูเลี้ยงดู ก็สามารถล มเลิกข อตกลงนี้ได และต างก็เป นอิสระจากกัน (Rousseau, 152-171 Mac9.indd 156 10/8/13 7:25 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=