ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖
ภัทรพร สิริกาญจน 155 วารสารราชบัณฑิตยสถาน ป ที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เม . ย .- มิ . ย . ๒๕๕๖ ของเขาเรื่อง จดหมายเชิงปรัชญาเกี่ยวกับชาวอังกฤษ (Philosophical Letters on the English) ใน ค . ศ . ๑๗๓๓ หนังสือเล มนี้ส งเสริมให ผู อ านแสวงหาคุณค าของชีวิตที่เป นประโยชน ต อมนุษยชาติ ทั้งมวลและโจมตีความไร ขันติธรรม ความหลอกลวง ตลอดจนความงมงายทางศาสนา แม นักคิด ในสมัยคริสต ศตวรรษที่ ๑๘ บางกลุ มจะเชื่อมั่นในการใช เหตุผล แต วอลแตร กลับใช เหตุผลที่อาศัย ประสบการณ ด วย นอกจากนั้น เขาก็ไม ใช หลักคณิตศาสตร เหมือนเรอเน เดการ ต (René Descartes, ค . ศ . ๑๕๙๖ – ๑๖๕๐ ) นักปรัชญายุคใหม ชาวฝรั่งเศส วอลแตร ให ความสําคัญต อธรรมชาติโดยถือว า สิ่งใดก็ตามที่สอดคล องกับธรรมชาติเป นสิ่งที่ดีเสมอ เราสามารถพบกฎธรรมชาติได ด วยเหตุผล นักคิด นักปรัชญาภูมิป ญญาในคริสต ศตวรรษที่ ๑๘ จะมองเห็นผู ละเมิดกฎธรรมชาติว าเป นพวกกบฏ เหมือนกับที่พวกนักบวชในยุคกลางมองคนที่ทําลายกฎของพระเป นเจ า สําหรับนักปรัชญาภูมิป ญญาแล ว เป าหมายของชีวิตที่พึงประสงค คือการดํารงชีวิตให สอดคล องกับกฎธรรมชาติ ซึ่งให ผลคือความสุข ในโลกนี้ ไม ใช โลกหน า หรือความสุขในสรวงสวรรค (Strayer, Gatzke, and Harbison, 1974: 485–487) นักปรัชญาภูมิป ญญาชาวฝรั่งเศสในคริสต ศตวรรษที่ ๑๘ ให ความสนใจเรื่องเสรีภาพ (freedom) และต อต านการจํากัดเสรีภาพที่เป นอยู ขณะนั้นในฝรั่งเศส ซึ่งได แก การจํากัดเสรีภาพ ในการพูด ในเรื่องทางศาสนา ในการค าขาย ในการเลือกอาชีพการงาน และในการคัดค านต อต าน การจับกุมอย างไร กฎเกณฑ เสรีภาพเป นสิ่งที่ควบคู กับเหตุผลซึ่งทําให เรามองเห็นกฎธรรมชาติ ที่แท จริงที่ปกครองทุกมิติของชีวิต คําว า “ เสรีภาพ ” หมายถึง อิสรภาพหรือความเป นตัวของตัวเอง และมีความหมายหลายนัย เช น ๑ ) เสรีภาพ หมายถึง สภาพที่บุคคลมีสิทธิที่จะกระทําการใด ๆ ตามที่ตนปรารถนาโดย ไม มีอุปสรรคขัดขวาง เช น เสรีภาพในการพูดและการเขียน เสรีภาพในการนับถือศาสนา เสรีภาพ ในความหมายนี้ เป นเสรีภาพทางการเมือง ซึ่งบางทีเรียกว า “ เสรีธรรม ” (liberty) ๒ ) เสรีภาพ หมายถึง สภาพที่เป นอิสระจากสิ่งอันไม พึงปรารถนา เช น เป นอิสระจาก ความอัตคัดขัดสน (freedom from want) และเป นอิสระจากโรคภัยไข เจ็บ (freedom from disease) ๓ ) เสรีภาพ หมายถึง สภาพที่หลุดพ นจากอุปสรรคขัดขวางการบรรลุอุดมคติทางศาสนา เช น พระพุทธศาสนาถือว า การหลุดพ นจากกิเลสตัณหาและความทุกข คือเสรีภาพ เรียกว า วิมุตติ หรือ การหลุดพ น (liberation) ( ราชบัณฑิตยสถาน , ๒๕๔๘ : ๓๙ ) แนวคิดเรื่องเสรีภาพได แผ ขยายไปถึงเรื่องสิทธิและเรื่องประชาธิปไตยของประชาชน ซึ่ง ฌ็อง - ฌัก รูโซ (Jean-Jacques Rousseau, ค . ศ . ๑๗๑๒ – ๑๗๗๘ ) นักปรัชญาชาวฝรั่งเศสผู เรืองนาม ได นําเสนอไว อย างน าสนใจในงานเขียนของเขาเรื่อง สัญญาประชาคม (The Social Contract) 152-171 Mac9.indd 155 10/8/13 7:25 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=