ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖

The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 38 No. 2 April-June 2013 154 ประโยชน นิยมในความเรียงว าด วยเสรีภาพ ของจอห น สจวร ต มิลล พื้นฐานของพลเมือง (Bill of Rights) ซึ่งเป นกฎหมายเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานและเอกสิทธิ์ ของประชาชนที่ถือสัญชาติของรัฐ ล็อกเป นนักปรัชญาผู หนึ่งที่ต อต านเทวสิทธิราชย (Divine Right of King) ซึ่งเป นทรรศนะที่ถือว า พระเป นเจ ามีอํานาจศักดิ์สิทธิ์ในการปกครองมนุษย และทรง มอบอํานาจนี้ให แก กษัตริย กษัตริย จึงมีอํานาจทางการเมืองและการปกครองโดยสิทธิ์ขาดและ โดยกว างขวาง ไม อาจมีผู ใดต านทานได ราษฎรทุกคนต องยอมรับอํานาจการปกครองของกษัตริย เพราะเป นไปตามพระประสงค ของพระเป นเจ าและเป นอํานาจที่อยู เหนือกฎหมายของมนุษย ( ราชบัณฑิตยสถาน , ๒๕๕๒ : ๑๐๓ – ๑๐๔ ) ล็อกได นําเสนอแนวคิดเกี่ยวกับชีวิต เสรีภาพ และทรัพย สิน ของบุคคลซึ่งมนุษย เป นเจ าของโดยธรรมชาติ เขายืนยันว า การจัดตั้งรัฐบาลมีเหตุผลเพียงเพื่อพิทักษ สิทธิดังกล าวของประชาชน ทั้งนี้ อํานาจนิติบัญญัติและอํานาจบริหารต องแยกจากกัน ถ าฝ ายบริหาร เป นทรราชและละเมิดสิทธิของป จเจกบุคคล ประชาชนก็ต องใช สิทธิยับยั้งรัฐสภา ถ าไม สําเร็จก็ต อง ปฏิวัติและจัดตั้งรัฐบาลใหม กล าวอีกอย างหนึ่งก็คือ สิทธิในการปฏิวัติขั้นสูงสุดอยู ที่ประชาชน และ การล มอํานาจของรัฐบาลไม จําเป นต องหมายถึงการทําลายสังคมเสมอไป (Strayer, Gatzke, and Harbison, 1974: 461–462) ความคิดของล็อกมีอิทธิพลต อนักคิดตะวันตกในยุคคริสต ศตวรรษที่ ๑๘ อย างมาก นักคิดต าง ๆ ในยุคดังกล าวเริ่มเผยแพร ความรู ทางวิทยาศาสตร ธรรมชาติที่ค นพบกัน ในคริสต ศตวรรษที่ ๑๗ โดยเฉพาะอย างยิ่ง การประยุกต วิทยาศาสตร ธรรมชาติกับการปฏิรูปสังคม หลังยุคมืด (the Dark Age) ด วยความโง เขลาในสมัยกลางมาเป นเวลานาน ในทางปรัชญาและศาสนา ถือว า ยุคมืดคือยุคที่ผู คนหมกมุ นมืดบอดอยู ในความงมงายทางศาสนา ไสยศาสตร ความไม รู จริง ความไร ขันติธรรม และความยึดมั่นในอดีต ยุคภูมิป ญญาคือยุคแห งแสงสว างทางวิทยาศาสตร นักคิดหลายคนในยุคภูมิป ญญาเป นพวกชนชั้นกลาง เป นนักการศึกษาและป ญญาชนที่ไม พอใจในระบบ ราชการที่ไม มีประสิทธิภาพ ตลอดจนความยโสโอหังของพวกขุนนาง พวกชนชั้นกลางเหล านี้จึงพยายาม กําจัดสิทธิพิเศษและความไม ถูกต องนานาประการในสังคม พวกชนชั้นกลางหลายคนเป นนักเขียนที่มี ป ญญาแตกฉานและผลงานเฉียบคม ซึ่งมีอิทธิพลอย างยิ่งต อคนทั่วไปในสังคม รวมถึงพวกขุนนางด วย ความเคลื่อนไหวของนักคิดภูมิป ญญาเริ่มจากการที่วอลแตร (Voltaire, ค . ศ . ๑๖๙๔ – ๑๗๗๘ ) หรือชื่อจริงคือ ฟรองซัว มารี อารูเอ (François Marie Arouet) นักปรัชญาชาวฝรั่งเศส เป นนักคิด ที่มีอิทธิพลอย างสูงในสังคมฝรั่งเศสและเคยถูกคุมขังในคุกบาสตีย (Bastille) ในฐานที่ต อต านอํานาจ รัฐ เขาเดินทางไปเยือนประเทศอังกฤษและมีโอกาสอ านงานเขียนของเซอร ไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton, ค . ศ . ๑๖๔๒ – ๑๗๒๗ ) และของจอห น ล็อก เขาได รับอิทธิพลทางความคิดจากนักปรัชญา ทั้งสองนี้ในเรื่องเสรีภาพในสังคมอังกฤษ หลังจากที่วอลแตร กลับมาฝรั่งเศส เขาได จัดพิมพ งานเขียน 152-171 Mac9.indd 154 10/8/13 7:25 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=