ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖
ภัทรพร สิริกาญจน 153 วารสารราชบัณฑิตยสถาน ป ที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เม . ย .- มิ . ย . ๒๕๕๖ ความคิดเรื่องเสรีภาพ สิทธิ มนุษยชน และความยุติธรรม เป นเรื่องถกเถียงกันทางปรัชญาได อย างกว าง ขวาง นอกจากนั้น การปฏิวัติทางอุตสาหกรรมที่เริ่มขึ้นในประเทศอังกฤษเมื่อคริสต ศตวรรษที่ ๑๙ ได เกิดนวัตกรรมการใช เครื่องจักรแทนแรงงานคน ทําให สามารถผลิตสินค าได ครั้งละเป นจํานวนมาก และ ชักนําให ชาวไร ชาวนาเปลี่ยนสภาพมาเป นกรรมกรในโรงงาน ปรากฏการณ ดังกล าวกระทบรูปแบบ การดําเนินชีวิตของผู คนอย างใหญ หลวง เช น เกิดคนชั้นกลางที่รํ่ารวยจากธุรกิจการผลิตและการค า เกิดสังคมแบบบริโภคนิยม (consumerism) และวัตถุนิยม (materialism) เห็นได จากผู คนที่ต างก็ บูชาเงินเป นพระเจ า แบ งแยกชนชั้นและเอาเปรียบแรงงานของผู ด อยโอกาส เช น กรรมกร แม แต ความศรัทธาทางศาสนาก็ถูกท าทายจากมนุษย ผู ที่เชื่อมั่นในความสามารถและพลังอํานาจของตน ที่เพิ่มขึ้น การค นพบทางวิทยาศาสตร เช น การค นพบของชาลส ดาร วิน (Charles Darwin, ค . ศ . ๑๘๐๙ – ๑๘๘๒ ) ว ามนุษย มีพัฒนาการมาจากสัตว โลกที่มีเผ าพันธุ ใกล เคียงกันตามธรรมชาติ ซึ่งเป นการปฏิเสธ การสร างมนุษย โดยพระเป นเจ า ดังที่ศาสนาคริสต และศาสนาที่เชื่อพระเป นเจ ากล าวอ าง และ คุณธรรมสําคัญที่มีการเสนอไว แล วในปรัชญากรีก เช น “ ความยุติธรรม ” ก็ถูกนํามาถ ายทอดและ ตีความในความหมายใหม ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนไป เช น “ ความยุติธรรม ” ที่หมายถึง ความสมดุลของ องค ประกอบทางจิตในปรัชญากรีกตามทรรศนะของเพลโต (Plato, ๔๒๘ – ๓๔๘ ป ก อนคริสต ศักราช ) ได แปรเปลี่ยนเป นความเท าเทียมกันด านโอกาสและความชอบธรรมในการเป นเจ าของแรงงานและ ผลงานของตนเองจากปรัชญาของคาร ล มากซ (Karl Marx, ค . ศ . ๑๘๑๘ – ๑๘๘๓ ) (Reese, 1980: 336) บทความเรื่อง “ ประโยชน นิยมในความเรียงว าด วยเสรีภาพ ของจอห น สจวร ต มิลล ” ที่นําเสนอในที่นี้ มีความมุ งหมายที่จะแสดงให เห็นความสําคัญและความหมายของเสรีภาพ ความสัมพันธ ระหว างเสรีภาพกับประชาธิปไตย และแนวคิดแบบประโยชน นิยมที่แนบเนื่องอยู ในการ เรียกร องเสรีภาพของจอห น สจวร ต มิลล ซึ่งก อให เกิดการถกเถียงกันอย างกว างขวางในสมัยคริสต ศตวรรษ ที่ ๑๙ จนถึงยุคป จจุบัน อันที่จริง ประเด็นการเรียกร องสิทธิและเสรีภาพในหมู นักปรัชญายุโรปได ก อตัวอย างชัดเจนมาตั้งแต คริสต ศตวรรษที่ ๑๗ เห็นได จากงานเขียนของนักปรัชญาบางคน เช น จอห น ล็อก (John Locke, ค . ศ . ๑๖๓๒ – ๑๗๐๔ ) นักปรัชญาแนวประสบการณ นิยม (Empiricism) ชาวอังกฤษ ล็อกได แสดงความคิดของเขาไว ในงานเขียนเรื่อง รัฐบาลเพื่อพลเมือง : ความเรียงสองเรื่อง (Of Civil Government: Two Treatises) พิมพ ใน ค . ศ . ๑๖๙๐ เกี่ยวกับการต อสู เรียกร องให จํากัดอํานาจราชาธิปไตย (Monarchy) ซึ่งนําไปสู การปฏิวัติใน ค . ศ . ๑๖๘๘ โดยรัฐสภาอังกฤษที่ยึด อํานาจจากพระเจ าเจมส ที่ ๒ (James II) ในขณะนั้น อังกฤษถูกโจมตีโดยกองทัพฮอลันดา พระเจ า เจมส ที่ ๒ ได หลบหนีไปอยู ที่ฝรั่งเศส รัฐสภาอังกฤษได สถาปนาผู ปกครองประเทศพระองค ใหม คือ กษัตริย วิลเลียม (William) และพระนางมารี (Mary) จากนั้นได ออกพระราชบัญญัติว าด วยสิทธิ 152-171 Mac9.indd 153 10/8/13 7:25 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=