ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖

The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 38 No. 2 April-June 2013 ๑ ภาคีสมาชิก สํานักธรรมศาสตร และการเมือง ๑ . ความนํา ในช วงปลายคริสต ศตวรรษที่ ๑๙ เข าสู ต นคริสต ศตวรรษที่ ๒๐ มีประเด็นถกเถียงกัน ทางปรัชญาอย างหลากหลาย ทั้งประเด็นทางด านสังคม การศึกษา เศรษฐกิจ และการเมือง เช น ในทางการเมือง เกิดการปฏิวัติฝรั่งเศส (French Revolution) ขึ้นใน ค . ศ . ๑๗๘๙ มีการเสนอประเด็น ประโยชน นิยมในความเรียงว าด วยเสรีภาพ ของจอห น สจวร ต มิลล ภัทรพร สิริกาญจน ๑ บทคัดย อ ความเรียงว าด วยเสรีภาพ เป นงานเขียนที่เด นดังเรื่องหนึ่งของจอห น สจวร ต มิลล (John Stuart Mill, ค . ศ . ๑๘๐๖ – ๑๘๗๓ ) มีสาระสําคัญในการให ความหมายเรื่องเสรีภาพและ ความจําเป นในการมีเสรีภาพส วนบุคคลซึ่งเป นเสรีภาพขั้นพื้นฐานของมนุษย เสรีภาพส วนบุคคล ได รับการส งเสริมจากแนวคิดแบบประโยชน นิยม ตลอดจนการปกครองในระบอบประชาธิปไตย และเป นสิ่งที่ไม สามารถดํารงอยู แยกจากเสรีภาพทางสังคมได เสรีภาพส วนบุคคลส งเสริมเสรีภาพ ทางความคิด และเสรีภาพทางความคิดจะนําไปสู ประโยชน สุขของมนุษย ได มากที่สุด การที่มิลล คิดตาม หลักประโยชน นิยมว า สิ่งที่ดีที่สุดคือสิ่งที่ให ประโยชน มากที่สุดแก คนเป นจํานวนมากที่สุด เพราะเขาให ความสําคัญต อประชาชนซึ่งเป นผู ถูกปกครองและเป นคนส วนมากของรัฐ ไม ใช ผู ปกครองซึ่งเป น คนส วนน อย อย างไรก็ตาม มิลล ก็ตระหนักดีว า การปกครองด วยคนส วนใหญ อาจก อให เกิดปรากฏการณ ที่เรียกว า “ ทรราชจากมหาชน ” (tyranny of majority) แต ป ญหาดังกล าวจะแก ไขได ด วยการ ส งเสริมการศึกษาเรื่องสิทธิ เสรีภาพ และหน าที่ของสมาชิกของสังคมซึ่งเป นป จจัยสําคัญของ ระบอบประชาธิปไตย คําสําคัญ : ประโยชน นิยม , เสรีภาพ , สิทธิ , หน าที่ 152-171 Mac9.indd 152 10/8/13 7:24 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=