ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖
บรรจบ บรรณรุจิ 147 วารสารราชบัณฑิตยสถาน ป ที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เม . ย .- มิ . ย . ๒๕๕๖ ๑๐ . สยนทสกะ วัยนอน ๑๐ ป เริ่มตั้งแต อายุ ๙๑ ป จนถึงอายุครบ ๑๐๐ ป วัยนี้ร างกาย เคลื่อนไหวลําบากแล วเพราะธาตุ ๔ ที่ประชุมกันเป นร างกายหมดสภาพพร อมแตกสลาย ต องนอน รอความตาย ๒๘ การแบ งดังกล าวมาอาจจะไม ถูกต องทีเดียวนัก โดยเฉพาะตั้งแต ข อที่ ๖ . ถึงข อที่ ๑๐ . เพราะส วนใหญ จะอยู ไม ครบอายุขัย บางท านอาจจะนอนตั้งแต อายุ ๙๐ ป แล ว ในทางตรงกันข าม บางท านก็อาจจะยังไม เป นอย างว ามา แม จะมีอายุตั้ง ๘๐ - ๙๐ ป แล ว แต ก็ยังเคลื่อนไหวอิริยาบถได เป นปรกติ สามารถช วยตัวเองได แม จะไม แข็งแรงเหมือนเมื่อก อนก็ตาม แต นั่นก็เป นส วนบุคคล ส วนใหญ แล วจะตกอยู ในสภาพดังกล าวมา การรู อย างนี้จะทําให เกิดประโยชน ในการพัฒนาตนเอง และการดูแลสุขภาพ ซึ่งสังคมป จจุบันกําลังตื่นตัว บทสรุป พระพุทธศาสนามองกาลเวลาว าสัมพันธ อยู กับสิ่งที่ป จจัยปรุงแต งทั้งหมดไม ว าสิ่งที่ถูกปรุงแต ง นั้นจะเป นอะไร เล็กหรือใหญ สวยงามหรือไม สวยงาม มีค าน อยหรือมีค ามาก เป นของมนุษย หรือของ เทวดา ความสัมพันธ เริ่มตั้งแต สิ่งที่ถูกปรุงแต งนั้นเกิดขึ้นมา แต อาจยังไม ชัด จะชัดก็ต อเมื่อสิ่งที่ถูกปรุงแต ง นั้นมีความแก ความเสื่อมสลาย และความแตกดับปรากฏ ซึ่งแสดงว าได เกิดและดํารงอยู มานาน กาลเวลายังถูกใช ไปในการกําหนดขอบเขตการดํารงอยู ของสิ่งที่ถูกป จจัยปรุงแต งให ออกมาในรูปของ เท านั้น ขณะเท านั้น วินาทีเท านั้น นาทีเท านั้น วันเท านั้น เดือนเท านั้น และป เท านั้น โดยมีคืนและวัน เป นกรอบใหญ สิ่งที่ถูกป จจัยปรุงแต งครอบคลุมถึงสรรพสัตว และสรรพสิ่ง กาลเวลาไม มีรูปร างตัวตน แต เมื่อถูกมองว ากินสรรพสัตว และสรรพสิ่งได จึงถูกสร างให เป นรูปธรรม มีตัวตนอย างที่พบในคติ ความเชื่อของศาสนาฮินดู แต พระพุทธศาสนาก็อธิบายได ชัดเจนว ากาลเวลาที่ไม มีตัวตนแต กินสรรพสัตว และสรรพสิ่งด วยการปล อยให ทั้งสรรพสัตว และสรรพสิ่งค อย ๆ เสื่อมสลายไปและแตกดับไปในที่สุด หลังจากสรรพสัตว และสรรพสิ่งแตกดับแล ว กาลเวลาก็ยังดําเนินและสัมพันธ กับสิ่งที่ถูกป จจัย ปรุงแต งใหม ๆ ต อไปไม รู จบ โลกนี้จึงยังมีขณะ วินาที นาที ตลอดไปถึง วัน เดือน ป ไม มีที่สิ้นสุด สรรพสัตว และสรรพสิ่งเมื่อเกิดมาในโลกนี้ก็เป นที่รู กันว าย อมพบกับความสิ้นสุดตามกาลเวลา เพราะ การเกิดทําให ตกอยู ในกรอบของกาลเวลา ดังนั้น กาลเวลาจึงเป นตัวกําหนดลักษณะของสิ่งที่ถูก ป จจัยปรุงแต งทั้งหมด ในพระพุทธศาสนา มีคําสอนที่พระพุทธเจ าตรัสไว เองว า อกาลิโก อันเป นคุณศัพท บทหนึ่งของคําว า ธัมโม แปลว า ธรรมหรือความจริงที่ไม ประกอบด วยกาลเวลา ๒๙ ๒๘ วิสุทฺธ . ๓ / ๒๔๗ . ๒๙ สํ . นิ . ๑๖ / ๔๑ / ๖๗ . 134-151 Mac9.indd 147 10/8/13 7:23 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=