ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖

บรรจบ บรรณรุจิ 145 วารสารราชบัณฑิตยสถาน ป ที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เม . ย .- มิ . ย . ๒๕๕๖ และกัน เป นการเห็นป จจุบันแต ละขณะของการเคลื่อนไหวอิริยาบถและของการหายใจเข าออก เป นต นว าสั้นมาก มีระยะเพียงชั่วกะพริบตา หรือหากจะยาวขึ้นนิดหน อยก็เพียงแค ช างกระดิกหู งูแลบลิ้น เป นการเห็นที่จะมีพัฒนาการไปตามลําดับขั้นจนกระทั่งถึงขั้นเบื่อหน ายในขันธ ๕ ซึ่งได เห็น แล วว ามีแต การเกิดแล วแตกดับ แม จะปรุงแต งดําเนินไปอย างต อเนื่องอย างไรก็ไม พ นไปจากอุ งมือของ กาลเวลาคือ อดีต ป จจุบัน อนาคตได เลย ตอนกลาง พระพุทธเจ าตรัสแนะนําให เร งทําความเพียรเผากิเลสนับแต วันนี้ เพราะพรุ งนี้ อาจตาย เพราะเราจะไปผัดผ อนกับความตายที่มีกองทัพมหึมาไม ได เลย และ ตอนสุดท าย พระพุทธเจ าตรัสสรุปว า มุนีผู สงบเรียกท านผู มีปรกติอยู ด วยการเห็นแจ ง ป จจุบันอย างนี้ มีความเพียรเผากิเลส ไม เกียจคร านทั้งกลางวัน กลางคืน ว า ผู มีราตรีเดียวเจริญ ในตอนนี้มีคําสําคัญคือ ผู มีราตรีเดียวเจริญ ซึ่งเป นพระพุทธพจน ที่น าจะแสดงลักษณะ อันสมบูรณ ของ ผู กินกาล ( กาลฆโส ) เพราะเหตุที่มีสติกําหนดดูรู ทันขณะป จจุบันอย างต อเนื่องจนกระทั่ง เหมือนไม มีกลางคืน กลางวัน มีแต ขณะป จจุบันเท านั้นปรากฏ ผู เขียนเข าใจว าการใช คํา ราตรี ในที่นี้ไม ได หมายถึงเพียงกลางคืน แต หมายถึง วัน ซึ่งรวมทั้ง กลางคืน กลางวันด วย เพราะในสมัยครั้งพุทธกาล การนับคืนวันของสังคมอินเดียโบราณเริ่มต นจาก กลางคืนไปกลางวันอย างนี้เรื่อยไป และที่สําคัญราตรีซึ่งครอบคลุมถึงกลางวันด วยยังอาจหมายถึง “ ขณะ ” ได ด วยเพราะทั้งราตรีและวันประกอบด วยเวลาส วนย อยต าง ๆ และขณะคือเวลาส วนย อย ที่เล็กที่สุด การเข าใจอย างนี้มีผลต อความหมายของคําแปลว า ผู มีราตรีเดียวเจริญ ซึ่งอาจตีความได อีกว า ผู มีขณะเดียวเจริญ อันแสดงถึงความจริงว ามีแต ขณะป จจุบัน ไม มีอดีต ไม มีอนาคต ๒ . ท าทีเพื่อการปรับใช ในชีวิตประจําวัน จากการศึกษาเรื่องกาลเวลาในลักษณะต าง ๆ รวมทั้งกาลเวลาที่มาเป นอายุขัยของมนุษย พบว าในยุคของพระพุทธเจ าแต ละพระองค อายุขัยของมนุษย ไม เท ากัน ในยุคของพระพุทธเจ าพระองค ป จจุบันมนุษย มีอายุขัย ๑๐๐ ป ซึ่งก็พบว ามีอยู ครบ ๑๐๐ ป บ างหรือเกินไปบ างก็จํานวนน อย เช น พระมหากัสสปะกับพระอานนท มีอายุ ๑๒๐ ป ที่มากที่สุดคือพระพากุละมีอายุ ๑๖๐ ป แต ส วนมาก ไม ถึง ๑๐๐ ป พระพุทธเจ าเองเสด็จดับขันธปรินิพพานเมื่อพระชนมายุครบ ๘๐ พรรษา ซึ่งเป น ธรรมดาของพระพุทธเจ าทุกพระองค จะมีพระชนม อยู ไม ครบอายุขัยและจะเสด็จดับขันธปรินิพพาน มีการแบ งพระชนมายุของพระพุทธเจ าทุกพระองค เป น ๕ ส วน ส วนละกี่ป นั้นขึ้นอยู กับจํานวนอายุขัย ในแต ละยุค อย างเช น ในยุคของพระพุทธเจ าพระองค ป จจุบัน มนุษย มีอายุขัย ๑๐๐ ป เมื่อแบ งเป น 134-151 Mac9.indd 145 10/8/13 7:23 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=