ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖
The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 38 No. 2 April-June 2013 144 กาลเวลา – นักฆ าผู ยิ่งใหญ : ใครเล าสามารถฆ ากาลเวลาได จึงจะสามารถเพิ่มพูนการเห็นแจ งธรรมที่เป นป จจุบันนั้นซึ่งไม มีความเห็นผิดใด ๆ มาทําให ง อนแง น มาทําให เสียไปได ...” ๒๖ พระพุทธพจน ตอนนี้ตรัสครอบคลุมทั้งอดีต อนาคต และป จจุบัน และยังทรงขยายความหมาย ของอดีตและอนาคตไว อย างสั้น ๆ แต ชัดเจน อีกทั้งยังทรงขยายว า “ อดีต ก็คือ ขันธ ๕ ที่ผ านไปแล ว อนาคตก็คือขันธ ๕ ที่ยังมาไม ถึง ซึ่งไม ควรกลับไปจมอยู กับขันธ ๕ ที่ผ านไปแล วว า ในอดีต เราเคย มีรูป ( ร างกาย ) อย างนี้ เคยมีเวทนา ( ความรู สึก ) อย างนี้ เคยมีสัญญา ( การกําหนดหมายจําได ) อย างนี้ เคยมีสังขาร ( ความคิดปรุงแต ง ) อย างนี้ เคยมีวิญญาณ ( การรับรู ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ) อย างนี้ ” และไม ควรคาดหวังอย างเต็มที่กับขันธ ๕ ที่ยังมาไม ถึงว า “ ในอนาคต เราต องมีรูป ( ร างกาย ) อย างนี้ ต องมีเวทนา ( ความรู สึก ) อย างนี้ ต องมีสัญญา ( การกําหนดหมายจําได ) อย างนี้ ต องมีสังขาร ( ความคิด ปรุงแต ง ) อย างนี้ ต องมีวิญญาณ ( การรับรู ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ) อย างนี้ ” ๒๗ ในทรรศนะของผู เขียน พระพุทธพจน ตอนนี้มีคําสําคัญอยู คือ ๑ . อดีต อนาคต ป จจุบัน ๒ . ขันธ ๕ ๓ . ไม ควรหวนกลับมาหา ไม ควรคาดหวังอย างเต็มที่ ๔ . เห็นแจ งธรรมที่เป นป จจุบัน คําใน ๓ ข อแรกแสดงความสัมพันธ กัน คือ พระพุทธเจ าตรัสสอนพระสาวกว าไม ควรหวนกลับมาหาขันธ ๕ ที่เป นอดีต ไม ควรคาดหวังขันธ ๕ ที่เป นอนาคต ซึ่งก็หมายความว ายังมีเรื่องต องรู ต อไปว าอะไรเล าที่อยู เบื้องหลังทําให มีการหวนกลับมาหาขันธ ที่เป นอดีตและให เกิดการคาดหวังขันธ ที่เป นอนาคต เมื่อมีขันธ ที่เป นอดีตและอนาคตก็ย อมต องมีขันธ ที่เป นป จจุบันแน นอน เพราะในสิ่งที่มีการปรุงแต งกาลทั้งสามนี้ ไม เคยแยกจากกัน พระพุทธเจ าตรัสไว ในคําสอนหลายต อหลายเรื่องว า ตัณหาคือกิเลสตัวการที่เชื่อมอดีต ป จจุบัน และอนาคตไว ตัณหาเชื่อมโยงให เราจมอยู กับอดีต เชื่อมโยงให เราคาดหวังกับอนาคต ระหว างอดีตกับอนาคตแน นอนว าคือป จจุบัน ส วนในข อ ๔ . คําว า เห็นแจ งธรรมป จจุบัน ก็คือ เห็นแจ ง ขันธ ๕ ที่กําลังเกิดขึ้นเฉพาะหน าตามความเป นจริง เช น เห็นการเคลื่อนไหวอิริยาบถ อาทิ การเดินหน า ถอยหลัง เห็นลมหายใจขณะหายใจเข าออก เห็นความรู สึกเป นสุข เป นทุกข ขณะกําลังเกิดขึ้น เห็นจิต ขณะกําลังคิดว ามีกิเลสหรือคุณธรรม เห็นกิเลสหรือคุณธรรมที่กําลังเกิดขึ้น การเห็นอย างนี้มิใช สักแต ว า เห็นลอย ๆ แต เห็นแบบสัมพันธ กับอนิจจัง ( เกิดดับ ) ทุกขัง ( ความคงอยู ในสภาพเดิมไม ได เพราะถูกเกิด กับดับบีบคั้น ) และอนัตตา ( ความไม มีตัวตนที่จะบังคับให เป นไปตามใจปรารถนา ) นี่คือการเห็นที่เรียกว า “ วิป สสนา ” เป นการเห็นป จจุบันแต สัมพันธ กับอดีตและอนาคตตามหลักการเป นป จจัยอิงอาศัยกัน ๒๖ ม . อุปริ . ๑๔ / ๒๗๒ / ๒๔๑ . ๒๗ ม . อุปริ . ๑๔ / ๒๗๓ / ๒๔๑ - ๒๔๒ . 134-151 Mac9.indd 144 10/8/13 7:23 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=