ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖
The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 38 No. 2 April-June 2013 138 กาลเวลา – นักฆ าผู ยิ่งใหญ : ใครเล าสามารถฆ ากาลเวลาได ทั้ง ๒ นี้มาใช ในความหมายเดิม แต ตีความหมายของ กาฬ ( ดํา ) ไปในทางไม ดี ดุร ายหรือชั่วร าย ดังนั้น เมื่อพูดถึงกาล ( เวลา ) กินสรรพสัตว จึงมองดูน ากลัวจึงเรียกกาลว า กาฬ และยกให เป นพระกาฬ ในฐานะเป นผู ทรงไว ซึ่งอํานาจทางดุร าย ความจริงแล ว พระกาฬที่บรรยายมานี้ เมื่อดูลักษณะทาง กายภาพก็คือ กาล นั่นเอง เพราะตา ๒ ข าง ข างที่สว างก็คือข างขึ้น ( สุกกป กข / ศุกรป กษ ) ข างที่ริบหรี่ ก็คือข างแรม ( กาฬป กข / กาลป กษ ) ปาก ๑๒ ปากก็คือ เดือน ๑๒ เดือน ฟ นปากละ ๓๐ ซี่ คือ วัน ๓๐ วันของแต ละเดือน สิ่งที่น าคิดต อไปก็คือการตีความของพระสงฆ ไทยที่พยายามทํา กาล ให เป นบุคลาธิษฐาน มีตัวตนอยู ในรูปของยักษ ว าน าจะได รับอิทธิพลความเชื่อมาจากแหล งข อมูลใด ผู เขียนเห็นว าตรงนี้ ประวัติศาสตร น าจะช วยได เพราะเมื่อย อนหลังกลับไปหาอดีตของดินแดนส วนที่เป นประเทศไทยของ เราก็คือส วนหนึ่งของสุวรรณภูมิซึ่งมีส วนได รับอิทธิพลคําสอนหรือแนวคิดโดยตรงจากศาสนาพราหมณ หรือต อมาเรียกว า ฮินดู ๖ ในศาสนาฮินดูมีความเชื่อว า กาล เป นชื่อของยมะหรือพระยม ซึ่งทําหน าที่ตัดสินคน ให ตาย ๗ พระยมคือเทพแห งความตาย ตัดสินคนตายที่ยมทูตของพระองค ลากตัวมาอยู ต อหน าบัลลังก ของพระองค ๘ ความเชื่อนี้สันนิษฐานว า เกิดขึ้นในยุคของอถรรพเวทและมีการตีความให สัมพันธ กับ พรหมะในฐานะเป นรูปของพรหมะในยุคปุราณะซึ่งเป นยุคต อมา และในยุคของมหาภารตะมีการตีความ ยมะหรือพระยมตามรูปศัพท ว า ผู ผูกมัด หรือผู กักขัง เพื่อสนับสนุนแนวคิดที่ว า พระองค ผูกมัดตัดสิน การกระทําของสรรพสัตว ว าอย างไหนให ผล อย างไหนไม ให ผล ๙ ความเชื่อนี้สืบทอดมานานในสังคมไทยและคงตกไปถึงพระสงฆ ด วย ต อมา ในยุคสุโขทัย แม พ อขุนรามคําแหงมหาราชจะรับพระพุทธศาสนาเป นศาสนาประจําชาติ และพระสงฆ จะได ศึกษา คําสอนของพระพุทธเจ าแล ว แต ความเชื่อนี้ก็คงยังไม หายไป เช น เมื่อศึกษามูลปริยายชาดกซึ่งมี กล าวว า “ กาโล ฆสติ ภูตานิ สพฺพาเนว สหตฺตนา – กาลย อมกินสรรพสัตว พร อมด วยตัวเอง ...” ๑๐ พระสงฆ ก็คงตีความหมายของ กาลในพระพุทธพจน นี้ในฐานะเป นพระกาฬซึ่งเป นยักษ ที่มีความดุร าย ไปตามความเชื่อเดิมที่สืบทอดมา ๖ ชาวเปอร เซียออกเสียง สินธุ ( ชื่อแม นํ้าใหญ สายหนึ่งไหลมาจากเทือกเขาหิมาลัย ไหลคั่นระหว างอินเดียกับปากีสถาน ) ว า ฮินดุ หรือ ฮินดู ชาวกรีกออกเสียง สินธุ เป น อินดุส ซึ่งต อมาเพี้ยนเป น อินเดีย และใช เป นชื่อของประเทศในป จจุบัน . ๗ John Dowson, Hindu Mythology and Religion, (Calcutta: Rupa & Co.1992) p. 140. ๘ Alain Danielou, The Myths and Gods of India, (Vermont: Inner Traditions International, 1991), p. 132. ๙ ibid. ๑๐ ขุ . ชา . ๒๗ / ๑๙๐ . 134-151 Mac9.indd 138 10/8/13 7:23 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=