ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖
บรรจบ บรรณรุจิ 137 วารสารราชบัณฑิตยสถาน ป ที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เม . ย .- มิ . ย . ๒๕๕๖ ก็ไม คงอยู ตลอดไป หายไปและปรากฏเป นช วง ๆ ระหว างที่ดวงจันทร หายไปนั้นโลกก็มืดมน คนก็เริ่ม กลับมากลัวอีก แต แล วจู ๆ ก็มีดวงไฟใหญ อีกดวงหนึ่งลอยโผล ขึ้นมาให แสงสว างมากกว าดวงจันทร คนก็เริ่มหายกลัว กลับเกิดความกล า จึงพร อมใจกันเรียกดวงไฟนั้นว า “ ดวงสุริยะ ” ( ดวงไฟที่ทําให เกิด ความกล า ) ดวงไฟทั้งสองสลับกันโผล ให แสงสว างแก โลกจึงสามารถแบ งเป นกลางคืน กลางวัน ได เมื่อแบ งเป นกลางคืน กลางวัน ได ก็นับเป นวัน เป นเดือน และเป นป ได วันเดือนป ที่นับได นี้เอง ถือเป น กาลเวลาที่เป นรูปธรรม ดังนั้น ดวงจันทร ดวงอาทิตย จึงนับว าเป นบ อเกิดของกาลเวลาในโลกมนุษย ที่แบ งเป นวันเดือนป กาลเวลากินสรรพสัตว ในมูลปริยายชาดกมีกล าวว า “ กาโล ฆสติ ภูตานิ สพฺพาเนว สหตฺตนา – กาลย อมกินสรรพสัตว พร อมด วยตัวเอง ...” ๔ เนื่องจาก “ กาล ” มีความหมายอย างเดียวกับ “ เวลา ” เมื่อพูดถึงกาลก็ครอบคลุมถึง เวลาด วย แต ในทางพระพุทธศาสนานิยมใช กาลมากกว า ใช เวลาน อยกว า และมักใช เวลาในฐานะเป น ส วนย อยของกาลเวลาใหญ เช น เวลาบ าย บาลีใช เป น วฑฺฒมานกจฺฉายา เวลา ๕ ตามรูปศัพท แปลว า เวลาที่มีเงาขยายออกไป ก็หมายถึง เวลาบ าย ซึ่งเริ่มตั้งแต เวลาบ ายไปจนถึงบ ายคล อย แต ในที่นี้ ขอแยกทําความเข าใจด านความหมายของกาลก อน เพราะจะช วยทําให เข าใจความหมายของเวลา ได ง ายขึ้นและจะช วยให เห็นความหมายที่สอดคล องกัน ๑ . กาลมีความหมายอย างไร ตามหัวข อที่ตั้งไว ว า กาลกินสรรพสัตว ทําให นึกถึงวาทะของ พระนักเทศน ในงานศพที่ถามตอบกันเรื่องพระกาฬ พระนักเทศน รูปที่ทําหน าที่ตอบอธิบายลักษณะของ พระกาฬไว อย างคล องจองว า “ พญายักษ ตนหนึ่งนา มีตา ๒ ข าง ข างหนึ่งสว าง ข างหนึ่งริบหรี่ มีปาก ๑๒ ปาก มีฟ นไม มากปากละ ๓๐ ซี่ เคี้ยวกินสัตว ทั่วปฐพี พญายักษ ตนนี้คือ พระกาฬ ” จากข อความนี้ ผู เขียนขอทําความเข าใจก อนว า ในภาษาไทยมีคําว า กาล กับ กาฬ กาล หมายถึง เวลา ส วน กาฬ หมายถึง ดํา ทั้งนี้คงเอามาจากภาษาบาลี ซึ่งมีทั้งคํา กาล และ กาฬ แต น าแปลกที่ไม พบคํา กาฬ ในภาษาสันสกฤต พระสงฆ ไทยโบราณที่คุ นเคยกับภาษาบาลีได รับคํา ๔ ขุ . ชา . ๒๗ / ๑๙๐ / ๗๐ . ๕ ธ . อ . ๑ / ๓๐ . 134-151 Mac9.indd 137 10/8/13 7:23 PM
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=