ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๒ เมษายน-มิถุนายน ๒๕๕๖

The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 38 No. 2 April-June 2013 136 กาลเวลา – นักฆ าผู ยิ่งใหญ : ใครเล าสามารถฆ ากาลเวลาได พบได ความแข็งหรืออ อนของเส นผมคือลักษณะของธาตุดิน การที่เซลล ต าง ๆ มาเกาะกลุ มกันเป นเส น คือลักษณะของธาตุนํ้า กระแสไฟที่วิ่งสลับอยู ในเส นผมคือลักษณะของธาตุไฟ และตัวการที่ทําให กระแสไฟวิ่งสลับไปมาได คือลักษณะของธาตุลม ธาตุ ๔ และลักษณะเฉพาะของธาตุแต ละธาตุดังกล าว มีอยู แม นอกตัวคน นั่นคือ หากเราจะหยิบดินหรือหินมาสักก อนหนึ่ง แล วค นหาลักษณะเฉพาะของธาตุ แต ละธาตุที่ผสมกันอยู ก็จะพบได เช นเดียวกัน ดังนั้น คําสรุปในตอนนี้สามารถกล าวให สอดคล องกัน ได ทั้งทางพระพุทธศาสนาและวิทยาศาสตร ว า ทุกเซลล ของสิ่งมีชีวิตและทุกอะตอมของสิ่งไม มีชีวิต ที่วิทยาศาสตร กล าวถึงล วนมีธาตุ ๔ ผสมกันอยู กล าวถึงกาลเวลา ก็มีอยู ในสรรพสัตว และสรรพสิ่งนั้น ๆ แต ป ญหาก็คือว ามีอยู อย างไร การทําความเข าใจคงไม ต องใช วิธีการคิดที่ลึกลับซับซ อนอะไรค นหาคําตอบ แต ใช วิธีเรียนรู จาก ปรากฏการณ ที่เรารับรู กันอยู ในระดับประสาทสัมผัสก็สามารถได คําตอบในเบื้องต นนี้ว า มีอยู ตั้งแต สรรพสัตว และสรรพสิ่งนั้น ๆ เกิด สืบเนื่องมาตลอดเวลาที่สรรพสัตว และสรรพสิ่งนั้น ๆ ดํารงอยู และ สิ้นสุดเมื่อสรรพสัตว และสรรพสิ่งนั้น ๆ แตกดับ แต เมื่อมีสรรพสัตว และสรรพสิ่งใหม เกิดขึ้น กาลเวลา ก็ดําเนินสืบต อไปในสรรพสัตว และสรรพสิ่งใหม นั้นอย างต อเนื่อง ดังนั้น การเกิดจึงเป นจุดเริ่มต นของ การมีกาลเวลา ผู เขียนกล าวอย างนี้มิได ต องการไปไกลถึงขั้นที่จะต องใช ทฤษฎีหรือศาสตร ใด ๆ มาพิสูจน แต ต องการใช อธิบายการเกิดของกาลเวลาในโลกมนุษย ตามนัยของอัคคัญญสูตรให เป นรูปธรรม อัคคัญญสูตร คือสูตรว าด วยสิ่งแรกของโลก ๒ มีทั้งสัตว และบรรยากาศต าง ๆ เนื้อหาโดยสรุป กล าวถึงสิ่งแรกของโลก เริ่มตั้งแต โลกมีวิวัฒนาการกลับมาใหม หลังจากสลายไป ตลอดเวลานั้น กาลเวลา ก็ดําเนินอยู กับความเสื่อมสลายและวิวัฒนาการ แต ไม สามารถแยกนับเป นวันเดือนป ให เป นรูปธรรม ว ากี่วัน กี่เดือน และกี่ป ได เนื่องจากดวงอาทิตย ดวงจันทร อันเป นเครื่องมือสําคัญที่ช วยให เกิด การแยกนับเป นตอนกลางคืนกับตอนกลางวันก็ยังไม มีเพราะยังไม ปรากฏ จึงแยกกลางคืนกับกลางวัน ไม ออก มนุษย ที่เกิดมาในช วงที่กลับมีวิวัฒนาการใหม ก็ใช ชีวิตอยู ท ามกลางความมืดและเกิดความกลัว ต อมา ก็มีดวงไฟใหญ ลอยโผล ขึ้นมา คนในยุคเริ่มแรกนั้นชอบใจดวงไฟนั้นเพราะให ความสว างที่น ารื่นรมย ไม ร อนแรง จึงพร อมใจกันเรียกมันว า “ ดวงจันทร ” ๓ ( เป นดวงไฟที่ทําให เกิดความชอบใจ ) แต ดวงจันทร ๒ เนื้อหาตอนนี้สรุปจากอัคคัญญสูตร ในทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค ( ที . ปาฏิ . ๑๑ ) ๓ มาจากคําสันสกฤตว า จนฺทฺร ภาษาบาลี เป น จนฺท พระพุทธโฆสะอธิบายว า แผลงรูปมาจาก ฉนฺท แปลว า ชอบใจ ส วน สุริย ตรงกับคําสันสกฤตว า สูรฺย แปลว า ความกล า หรือทําให กล า 134-151 Mac9.indd 136 10/8/13 7:23 PM

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=