สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

87 ณั ฐวุฒิ เสร็ จกิ จ, วารุณี เตี ย, สมชาติ โสภณรณฤทธิ์ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๖ ศักยภาพด้านต้นทุน การผลิตเอทานอลโดยใช้เทคโนโลยีการหมักกากน�้ ำตาลมีต้นทุนการผลิตรวมต�่ ำกว่าเทคโนโลยี การหมักมันส� ำปะหลัง โดยที่เทคโนโลยีการหมักกากน�้ ำตาลและมันส� ำปะหลังนั้นเป็นเทคโนโลยีที่ ประเทศไทยใช้ในเชิงพาณิชย์ในปัจจุบัน การผลิตเอทานอลจากวัตถุดิบประเภทลิกโนเซลลูโลสโดย ใช้เทคโนโลยีการแปรสภาพเป็นแก๊สร่วมกับเทคโนโลยีการหมัก มีแนวโน้มต้นทุนการผลิตรวมต�่ ำกว่า เทคโนโลยีการย่อยสลายเซลลูโลสร่วมกับเทคโนโลยีการหมัก โดยที่เทคโนโลยีการผลิตเอทานอลจากวัตถุดิบ ประเภทลิกโนเซลลูโลสนั้นมีต้นทุนการผลิตรวมต�่ ำกว่าเทคโนโลยีการผลิตเอทานอลจากกากน�้ ำตาลและ มันส� ำปะหลังที่ส่วนใหญ่ใช้ในประเทศไทย แต่ต้นทุนการผลิตรวมของเทคโนโลยีการผลิตเอทานอลจาก วัตถุดิบประเภทลิกโนเซลลูโลสนั้นยังอยู่ในระดับห้องปฏิบัติการ การผลิตไบโอดีเซลโดยใช้เทคโนโลยี Base Catalyst with Preesterification มีต้นทุนการผลิตรวมต�่ ำที่สุด อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยี Base Catalyst ยังคงเป็นเทคโนโลยีที่มีความเหมาะสมกับประเทศไทยมากกว่า เนื่องจากมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเร็วกว่า และมีต้นทุนการผลิตรวมสูงกว่าไม่มาก และการผลิตเบนซินสังเคราะห์โดยใช้เทคโนโลยีการแยกสลายด้วย ความร้อนมีต้นทุนการผลิตเบนซินสังเคราะห์ต�่ ำที่สุด และมีแนวโน้มต้นทุนการผลิตรวมใกล้เคียงกับการผลิต เอทานอลและไบโอดีเซล แต่การผลิตเบนซินสังเคราะห์โดยใช้เทคโนโลยีการแยกสลายด้วยความร้อนนั้น ยังอยู่ในระดับห้องปฏิบัติการ ต้นทุนการผลิตที่งานวิจัยนี้ศึกษาไว้นั้นได้จากข้อมูลรายงานการวิจัย ซึ่งอาจจะมีค่าต�่ ำกว่าการ ผลิตจริงเมื่อน� ำเทคโนโลยีนี้มาใช้ผลิตในเชิงพาณิชย์ ค่าต้นทุนขึ้นอยู่กับราคาวัตถุดิบและเทคโนโลยีที่ใช้ งานวิจัยนี้ต้องการแสดงให้เห็นถึงแนวโน้มของค่าต้นทุนการผลิตของเทคโนโลยีแต่ละประเภทเพื่อใช้เป็น ข้อมูลเบื้องต้นในการคัดเลือกเทคโนโลยี การใช้น�้ ำในการผลิตเชื้อเพลิงเหลว การผลิตเอทานอลจากกากน�้ ำตาลด้วยวิธีการหมักใช้น�้ ำในการผลิตต�่ ำที่สุดคือ ๔๙.๙๒ ลิตรต่อ เมกะจูล อันดับที่ ๒ คือ การผลิตเอทานอลจากมันส� ำปะหลังด้วยวิธีการหมัก ซึ่งใช้น�้ ำ ๑๓๖.๖๙ ลิตรต่อเมกะจูล และการผลิตไบโอดีเซลจากปาล์มน�้ ำมันใช้น�้ ำในการผลิตสูงที่สุดคือ ๒๘๗.๓๖ ลิตรต่อเมกะจูล การผลิต เอทานอลจากชานอ้อยและล� ำต้น ยอด ใบ และซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และการผลิตเบนซินสังเคราะห์จาก ล� ำต้น ยอด ใบ และซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ยังไม่มีการศึกษาการใช้น�้ ำในกระบวนการผลิต

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=