สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
การประเมิ นศั กยภาพและเทคโนโลยี การผลิ ตเชื้ อเพลิ งเหลวจากมวลชี วภาพในประเทศไทย 86 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 38 No. 3 July-Sep 2013 บทสรุปและวิจารณ์ ศักยภาพด้านการผลิต เมื่อพิจารณาจากปริมาณวัตถุดิบทั้งหมด พบว่ามีศักยภาพการผลิตเอทานอลสูงสุดเท่ากับ ๔.๕ ล้านลิตรต่อวัน หรือศักยภาพการผลิตเอทานอลและเบนซินสังเคราะห์ เท่ากับ ๓.๘๒ และ ๐.๗๔ ล้าน ลิตรต่อวัน ตามล� ำดับ (กรณีที่น� ำล� ำต้น ยอด ใบ และซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ที่ใช้ในการผลิตเอทานอลไปใช้ ในการผลิตเบนซินสังเคราะห์) และศักยภาพการผลิตไบโอดีเซลจากปาล์มน�้ ำมัน ๑.๒๔ ล้านลิตรต่อวัน ดัง นั้น เมื่อพิจารณาจากเป้าหมายของแผนพัฒนาพลังงานทดแทน ๑๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๖๔) ที่ได้ก� ำหนด ให้ พ.ศ. ๒๕๖๔ มีปริมาณการใช้เอทานอล ๙ ล้านลิตรต่อวัน และไบโอดีเซล ๕.๙๗ ล้านลิตรต่อวัน พบว่า ปริมาณการผลิตเอทานอลและไบโอดีเซลมีศักยภาพไม่เพียงพอที่จะรองรับแผนพัฒนาพลังงานทดแทนฯ ตารางที่ ๙ ปริมาณการใช้น�้ ำในการผลิตเชื้อเพลิงเหลวชนิดต่าง ๆ กากน�้ ำตาล ๑,๑๖๘ ๑๕.๑๖ ๑,๑๘๓.๑๖ ๔๙.๙๒ มันส� ำปะหลัง ๓,๒๒๗ ๑๒.๗๗ ๓,๒๓๙.๗๗ ๑๓๖.๖๙ ชานอ้อย ๒,๓๓๗ ไม่มีการศึกษา - - ล� ำต้น ยอด ใบ และ ซังข้าวโพด ๓,๐๒๕ ไม่มีการศึกษา - - เลี้ยงสัตว์ ไบโอดีเซล ปาล์มน�้ ำมัน ๖,๘๐๙ ๑.๔ ๖,๘๑๐.๔๐ ๒๘๗.๓๖ ล� ำต้น ยอด เบนซิน ใบ และ ๒,๗๘๓ ไม่มีการศึกษา - - สังเคราะห์ ซังข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ เชื้อเพลิงเหลว วัตถุดิบ ลิตรน�้ ำ/ลิตรเชื้อเพลิงเหลว ลิตรน�้ ำ/MJ การใช้น�้ ำ ในการ เพาะปลูก การใช้น�้ ำ ในกระบวน การผลิต รวม ทั้งหมด รวม ทั้งหมด เอทานอล (การหมัก)
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=