สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
85 ณั ฐวุฒิ เสร็ จกิ จ, วารุณี เตี ย, สมชาติ โสภณรณฤทธิ์ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๖ ๔.๔ การใช้น�้ ำในการเพาะปลูกปาล์มน�้ ำมัน จากการน� ำข้อมูลปริมาณการใช้น�้ ำในการเพาะปลูกต้นปาล์มน�้ ำมันต่อไร่คือ ๓,๕๒๘,๒๙๔ ลิตรน�้ ำต่อไร่ (กลุ่มงานวิจัยการใช้น�้ ำชลประทาน ๒๕๕๑) มาวิเคราะห์กับปริมาณผลปาล์มน�้ ำมัน ที่ได้ต่อไร่คือ ๒.๗๐ ตันผลปาล์มน�้ ำมันต่อไร่ (ส� ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ๒๕๕๔) พบว่าผลปาล์มน�้ ำมัน ปริมาณ ๑ ตัน ใช้น�้ ำในการเพาะปลูกเท่ากับ ๑,๓๐๗,๙๔๙ ลิตร ดังแสดงในรูปที่ ๑ จากการน� ำข้อมูลการใช้น�้ ำในการเพาะปลูกมวลชีวภาพต่อปริมาณมวลชีวภาพที่ผลิตได้ มา วิเคราะห์กับการใช้น�้ ำในกระบวนการผลิตเอทานอล ไบโอดีเซล และเบนซินสังเคราะห์ จากวัตถุดิบประเภท ต่าง ๆ ดังตารางที่ ๙ พบว่าการผลิตเอทานอลจากกากน�้ ำตาลด้วยวิธีการหมักใช้น�้ ำในการผลิตต�่ ำที่สุดคือ ๔๙.๙๒ ลิตรต่อเมกะจูล อันดับที่ ๒ คือ การผลิตเอทานอลจากมันส� ำปะหลังด้วยวิธีการหมักคือ ๑๓๖.๖๙ ลิตร ต่อเมกะจูล และการผลิตไบโอดีเซลจากปาล์มน�้ ำมันใช้น�้ ำในการผลิตสูงที่สุดคือ ๒๘๗.๓๖ ลิตรต่อเมกะจูล แต่การผลิตเอทานอลจากชานอ้อยและล� ำต้น ยอด ใบ และซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และการผลิตเบนซิน สังเคราะห์จากล� ำต้น ยอด ใบ และซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ยังไม่มีการศึกษาการใช้น�้ ำในกระบวนการผลิต รูปที่ ๑ ปริมาณการใช้น�้ ำในการเพาะปลูกต่อปริมาณมวลชีวภาพที่ผลิตได้
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=