สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

83 ณั ฐวุฒิ เสร็ จกิ จ, วารุณี เตี ย, สมชาติ โสภณรณฤทธิ์ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๖ Gasification* (High Temperature) ๓.๕๙ ๕๘ [๑๕] ๐.๕๗ ๑๕.๕๙ ๙๕.๘๙ [๑๕] ๑๑๑.๔๘ Gasification* (Low Temperature) ๓.๕๙ ๔๔ [๑๕] ๐.๔๔ ๒๐.๒๔ ๑๐๔.๑๕ [๑๕] ๑๒๔.๓๘ Pyrolysis* (Hydrogen ๓.๕๙ ๔๖ [๑๖] ๐.๔๕ ๑๙.๖๑ ๑๒.๖๔ [๑๖] ๓๒.๒๕ Production) Pyrolysis* (Without ๓.๕๙ ๗๕ [๑๖] ๐.๗๔ ๑๑.๙๕ ๙.๙๒ [๑๖] ๒๑.๘๖ Hydrogen Production) เทคโนโลยี สัดส่วน เชื้อเพลิงเหลว ที่ผลิตได้จาก วัตถุดิบ ๑ ตัน (ลิตร/ตัน) ศักยภาพ วัตถุดิบ (ล้านตัน/ปี เชื้อเพลิง เหลวที่ ผลิตได้ (ล้านลิตร/ วัน) ต้นทุน วัตถุดิบ (บาท/ ลิตร) ต้นทุน กระบวน การผลิต (บาท/ ลิตร) รวม ต้นทุน (บาท/ ลิตร) ๓.๓ ศักยภาพและต้นทุนการผลิตเบนซินสังเคราะห์ในประเทศไทย เมื่อพิจารณาศักยภาพทางด้านเทคนิคและศักยภาพทางด้านต้นทุนการผลิต พบว่า เทคโนโลยี Pyrolysis (without Hydrogen Production) มีศักยภาพการผลิตเบนซินสังเคราะห์จากล� ำต้น ยอด ใบ และซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ สูงที่สุดคือ ๐.๗๔ ล้านลิตรต่อวัน และมีต้นทุนการผลิตเบนซินสังเคราะห์ จากล� ำต้น ยอด ใบ และซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ต�่ ำที่สุดคือ ๒๑.๘๖ บาทต่อลิตร ดังแสดงในตารางที่ ๘ หมายเหตุ ๑. ราคาล� ำต้น ยอด ใบ และซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ๙๐๐ บาทต่อตัน (ความชื้น ๗๕% w.b.) ๒. *ยังอยู่ในระดับห้องปฏิบัติการ ตารางที่ ๘ เทคโนโลยีและต้นทุนการผลิตเบนซินสังเคราะห์จากล� ำต้น ยอด ใบ และซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ๔. การใช้น�้ ำในการผลิตเชื้อเพลิงเหลวจากมวลชีวภาพ การประเมินการใช้น�้ ำในการปลูกพืชเพื่อให้ได้วัตถุดิบส� ำหรับการผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพเหลว จะค� ำนวณโดยคิดเทียบปริมาณการใช้น�้ ำในการปลูกพืชกับสัดส่วนขององค์ประกอบของพืชที่น� ำมาใช้เป็น วัตถุดิบ เพื่อประเมินหาปริมาณการใช้น�้ ำในการปลูกพืชต่อ ๑ ตันของวัตถุดิบที่น� ำมาผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ เหลว

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=