สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

79 ณั ฐวุฒิ เสร็ จกิ จ, วารุณี เตี ย, สมชาติ โสภณรณฤทธิ์ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๖ ๒. เทคโนโลยีการผลิตเชื้อเพลิงเหลวชนิดต่าง ๆ ๒.๑ เทคโนโลยีการผลิตเอทานอล ๑. การหมัก (fermentation) เป็นเทคโนโลยีที่โรงงานผลิตเอทานอลในประเทศไทย ส่วนใหญ่นิยมใช้ในการผลิตเอทานอล วัตถุดิบหลักที่นิยมใช้มี ๒ ชนิด คือ มันส� ำปะหลังและกากน�้ ำตาล กรรมวิธีในการผลิตเอทานอลนั้นจะมีขั้นตอนหลักที่คล้ายคลึงกัน คือ การจัดเตรียมวัตถุดิบ การบดและผสม น�้ ำ การแปลงวัตถุดิบให้เป็นน�้ ำตาล (ถ้าเป็นกากน�้ ำตาลจะไม่มีขั้นตอนนี้) กระบวนการหมัก กระบวนการ กลั่น และกระบวนการแยกน�้ ำ เพื่อท� ำให้ได้เอทานอลที่มีความบริสุทธิ์ร้อยละ ๙๙.๕ ๒. การแปรสภาพเป็นแก๊ส (gasification) เป็นเทคโนโลยีใหม่ที่ใช้ในการผลิตเอทา นอลจากลิกโนเซลลูโลส ปัจจุบันเทคโนโลยีนี้แบ่งออกเป็นประเภทหลัก ๒ ประเภท ได้แก่ (๑) การแปร สภาพเป็นแก๊สที่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา (catalyst) เทคโนโลยีชนิดนี้จะเปลี่ยนโครงสร้างของลิกโนเซลลูโลสให้ อยู่ในรูปแก๊สสังเคราะห์ (CO+H 2 ) จากนั้นน� ำไปผ่านตัวเร่งปฏิกิริยาได้ผลผลิตเป็นเอทานอล ข้อดีคือแก๊ส สังเคราะห์ที่ได้ถูกเปลี่ยนเป็นเอทานอลอย่างรวดเร็ว และ (๒) การแปรสภาพเป็นแก๊สที่ใช้จุลินทรีย์ในการ หมัก (yeast fermentation) เทคโนโลยีชนิดนี้มีขั้นตอนคล้ายคลึงกับกระบวนการผลิตเอทานอลด้วยตัว เร่งปฏิกิริยา (catalyst) แต่แตกต่างกันตรงที่แก๊สสังเคราะห์ที่ได้จะถูกน� ำไปหมักด้วยเชื้อจุลินทรีย์ ๒.๒ เทคโนโลยีการผลิตไบโอดีเซล กล่าวโดยสรุปกระบวนการผลิตไบโอดีเซลคือการน� ำน�้ ำมันจากพืชหรือสัตว์ เช่น ปาล์ม สบู่ด� ำ ละหุ่ง ถั่วเหลือง มาผ่านกระบวนการสกัดน�้ ำมัน (extraction) จากนั้นน� ำน�้ ำมันที่ได้มาผลิตไบโอ ดีเซลโดยผ่านกระบวนการแทรนส์เอสเทอริฟิเคชัน (transesterification) ซึ่งเป็นปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น รายการ ๒๕๕๑* ๒๕๕๒* ๒๕๕๓* เฉลี่ยต่อปี ผลผลิตปาล์มสด (ล้านตัน) ๙.๒๗ ๘.๑๖ ๘.๒๒ ๘.๕๕ อัตราส่วนการผลิตน�้ ำมันปาล์มดิบ (ตันต่อ ๑ ตัน) ๐.๑๗ ๐.๑๗ ๐.๑๗ ๐.๑๗ ปริมาณน�้ ำมันปาล์มดิบที่ผลิตได้ (ล้านตัน) ๑.๕๘ ๑.๓๙ ๑.๔๐ ๑.๔๕๖ ใช้ในประเทศ (เทียบเท่าล้านตันน�้ ำมันปาล์มดิบ) ๐.๙๙ ๐.๙๑ ๐.๙๒ ๐.๙๔ ส่งออก (เทียบเท่าล้านตันน�้ ำมันปาล์มดิบ) ๐.๒๙ ๐.๐๗ ๐.๐๖ ๐.๑๔ เหลือน�้ ำมันปาล์มดิบส� ำหรับการผลิตไบโอดีเซล ๐.๓๐ ๐.๔๑ ๐.๔๒ ๐.๓๗๖ (ล้านตัน) * ที่มา : ส� ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ตารางที่ ๕ ศักยภาพของปาล์มน�้ ำมันส� ำหรับการผลิตไบโอดีเซลในประเทศไทย

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=