สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

77 ณั ฐวุฒิ เสร็ จกิ จ, วารุณี เตี ย, สมชาติ โสภณรณฤทธิ์ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๖ รายการ ชานอ้อยจาก ใช้เผาเป็นเชื้อเพลิงใน เหลือส� ำหรับการ การหีบน�้ ำตาล โรงงานผลิตน�้ ำตาล ๘๕% ผลิตเชื้อเพลิงเหลว (ตัน) (ตัน) (ตัน) ปี ๒๕๕๐ ๑๙,๕๐๒,๗๔๑ [๕] ๑๖,๕๗๗,๓๓๐ [๖] ๒,๙๒๕,๔๑๑ ปี ๒๕๕๑ ๒๒,๒๗๐,๙๘๙ [๕] ๑๘,๙๓๐,๓๔๑ [๖] ๓,๓๔๐,๖๔๘ ปี ๒๕๕๒ ๒๐,๒๔๕,๓๘๓ [๕] ๑๗,๒๐๘,๕๗๖ [๖] ๓,๐๓๖,๘๐๗ เฉลี่ยต่อปี ๒๐,๖๗๓,๐๓๘ ๑๗,๕๗๒,๐๘๒ ๓,๑๐๐,๙๕๖ ๑.๓ ศักยภาพของวัตถุดิบลิกโนเซลลูโลสส� ำหรับการผลิตเชื้อเพลิงเหลวในประเทศไทย จากการศึกษาปริมาณชานอ้อยและล� ำต้น ยอด ใบ และซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในช่วง พ.ศ. ๒๕๕๐–๒๕๕๒ พบว่า มีปริมาณชานอ้อยเฉลี่ย ๒๐.๖๗ ล้านตันต่อปี โดยประมาณร้อยละ ๘๕ ใช้ เผาเป็นเชื้อเพลิงในโรงงานผลิตน�้ ำตาลทราย ดังนั้น มีปริมาณชานอ้อยเหลือทิ้งสามารถน� ำมาใช้ส� ำหรับการ ผลิตเอทานอลหรือเบนซินสังเคราะห์เท่ากับ ๓.๑๐ ล้านตันต่อปี ปริมาณล� ำต้น ยอด และใบข้าวโพด เลี้ยง สัตว์ เฉลี่ย ๓.๗๒ ล้านตันต่อปี ถูกน� ำไปใช้งานประมาณร้อยละ ๑๐ และซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เฉลี่ย ๐.๗๘ ล้านตันต่อปี ถูกน� ำไปใช้งานประมาณร้อยละ ๗๐ ดังนั้นมีปริมาณล� ำต้น ยอด ใบ และซังข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ เหลือทิ้งสามารถน� ำมาใช้ส� ำหรับการผลิตเอทานอลหรือเบนซินสังเคราะห์ เท่ากับ ๓.๕๙ ล้านตันต่อปี ดัง แสดงในตารางที่ ๓ และ ๔ ตามล� ำดับ ตารางที่ ๓ ศักยภาพของชานอ้อยส� ำหรับการผลิตเอทานอลหรือเบนซินสังเคราะห์ในประเทศไทย

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=