สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
75 ณั ฐวุฒิ เสร็ จกิ จ, วารุณี เตี ย, สมชาติ โสภณรณฤทธิ์ วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๖ การเจริญเติบโตประกอบด้วย น�้ ำจากแหล่งน�้ ำตามธรรมชาติหรือจากการชลประทาน และน�้ ำที่อยู่ในรูป ของความชื้นในดิน ส� ำหรับการใช้น�้ ำในกระบวนการผลิตเชื้อเพลิงเหลว วิเคราะห์หาปริมาณน�้ ำที่ใช้ในขั้น ตอนต่าง ๆ ในกระบวนการผลิตเชื้อเพลิงเหลว นับตั้งแต่ขั้นตอนการป้อนวัตถุดิบจนได้ผลิตภัณฑ์เป็นเชื้อ เพลิงเหลว จากนั้นค� ำนวณหาปริมาณน�้ ำที่ใช้ในการผลิตเชื้อเพลิงเหลวทั้งหมด โดยน� ำปริมาณน�้ ำที่ใช้ใน การเพาะปลูกพืชมวลชีวภาพมารวมกับปริมาณน�้ ำที่ใช้ในกระบวนการผลิตเชื้อเพลิงเหลว ทั้งนี้จะคิดเป็น ลิตรน�้ ำที่ใช้ต่อลิตรเชื้อเพลิงเหลวที่ผลิตได้หรือลิตรน�้ ำที่ใช้ต่อค่าความร้อนที่ได้จากเชื้อเพลิงเหลว ๔. การประเมินหาต้นทุนการผลิตเชื้อเพลิงเหลวต่อหน่วย ซึ่งครอบคลุมทั้งค่าเงินลงทุนและ ค่าใช้จ่ายในการด� ำเนินการ สมมุติฐานที่ใช้ในการประเมินหาศักยภาพการผลิตเชื้อเพลิงเหลว ได้แก่ (๑) ปริมาณวัตถุดิบ ที่ใช้ได้ คิดรวมค่าความชื้นของวัตถุดิบที่น� ำมาผลิตแล้ว (๒) ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์หาต้นทุนการผลิต ได้แก่ ค่าอุปกรณ์และติดตั้ง ค่าก่อสร้าง ค่าการด� ำเนินงาน ค่าใช้จ่ายในการด� ำเนินการผลิต และราคา วัตถุดิบ (ส� ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ๒๕๕๔) โดยปรับมูลค่าเงินเป็น ณ พ.ศ. ๒๕๕๔ และใช้ค่าเงินเฟ้อ (ธนาคาร แห่งประเทศไทย ๒๕๕๔) (๓) ค่าอัตราแลกเปลี่ยนเงิน ๓๑ บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ผลของการวิจัย ๑. ศักยภาพมวลชีวภาพส� ำหรับผลิตเชื้อเพลิงเหลวในประเทศไทย ๑.๑ ศักยภาพของมันส� ำปะหลังส� ำหรับการผลิตเอทานอลในประเทศไทย จากการศึกษาปริมาณผลผลิตมันส� ำปะหลังสดในช่วง พ.ศ. ๒๕๕๐–๒๕๕๒ พบว่า มีปริมาณผลผลิตมันส� ำปะหลังสดเฉลี่ย ๒๗.๓๙ ล้านตันต่อปี น� ำมาใช้ในประเทศเฉลี่ย ๖.๑๘ ล้านตันต่อปี และส่งออกเฉลี่ย ๑๗.๓๙ ล้านตันต่อปี ดังนั้น เหลือมันส� ำปะหลังส� ำหรับการผลิตเอทานอลเฉลี่ย ๓.๘๒ ล้านตันต่อปี (ส� ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ๒๕๕๓) ดังแสดงในตารางที่ ๑ ๑.๒ ศักยภาพของกากน�้ ำตาลส� ำหรับการผลิตเอทานอลในประเทศไทย จากการศึกษาปริมาณผลผลิตอ้อยสดในช่วง พ.ศ. ๒๕๕๑–๒๕๕๓ พบว่า มีปริมาณ ผลผลิตอ้อยสดเฉลี่ย ๖๙.๗๑ ล้านตันต่อปี คิดเป็นปริมาณกากน�้ ำตาลเฉลี่ย ๓.๔๙ ล้านตันต่อปี น� ำมาใช้ ในประเทศเฉลี่ย ๑.๔๒ ล้านตันต่อปี และส่งออกเฉลี่ย ๐.๕๑ ล้านตันต่อปี ดังนั้นเหลือกากน�้ ำตาลส� ำหรับ การผลิตเอทานอลเฉลี่ย ๑.๕๖ ล้านตันต่อปี (ส� ำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ๒๕๕๓) ดังแสดงในตารางที่ ๒
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=