สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

ผลกระทบของยานยนต์ที่ ใช้เชื้ อเพลิ งฟอสซิ ลต่อสิ่ งแวดล้อม 70 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 38 No. 3 July-Sep 2013 ซึ่งเป็นรถยนต์ประหยัดน�้ ำมันและปล่อยมลพิษในระดับต�่ ำ รวมทั้ง เทคโนโลยียานยนต์ไฟฟ้า (electric vehicle) ที่ขับเคลื่อนโดยใช้พลังงานไฟฟ้าทั้งหมดหรือบางส่วน (นักสิทธ์ คูวัฒนาชัย ๒๕๕๖) เช่น ยานยนต์ ไฮบริด ( hybrid electric vehicle ) ยานยนต์ไฮบริดแบบปลั๊กอิน ( plug - in hybrid electric vehicle ) และ ยานยนต์ไฟฟ้า ( electric vehicle หรือ battery electric vehicle ) ระบบขนส่งมวลชน ส่งเสริมการใช้ระบบขนส่งมวลชนในระบบรางแทนระบบล้อ เช่น รถไฟ รถไฟฟ้า หรือระบบ ขนส่งมวลชนประเภทต่าง ๆ ในการเดินทาง เพื่อลดปริมาณยานยนต์บนท้องถนน โดยรัฐต้องจัดระเบียบ ในแง่การตรงต่อเวลา ความสะดวกในการเดินทาง และบริการ การควบคุมมลพิษจากยานยนต์ ควรมีมาตรการควบคุมการปล่อยแก๊สที่เป็นสารมลพิษจากท่อไอเสียของเครื่องยนต์ประเภท ต่าง ๆ ไม่ให้เกินมาตรฐานที่ก� ำหนดไว้ โดยที่ผู้ใช้รถต้องหมั่นตรวจสอบคุณภาพของเครื่องยนต์อยู่เสมอ เพื่อป้องกันไม่ให้เครื่องยนต์ปล่อยควันด� ำหรือสารพิษออกมา ปัญหามลพิษจากยานยนต์ทั้งในประเทศและทั่วโลกยังคงมีอยู่ เนื่องจากปริมาณยานยนต์ ที่มากขึ้น ถ้าหากไม่มีมาตรการในการควบคุมและแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง ผลกระทบดังกล่าว ทั้งต่อ สิ่งแวดล้อมและสุขภาพของมนุษย์ อาจสะสมรุนแรงจนถึงขั้นวิกฤติโลก ยากที่จะฟื้นฟูได้ในอนาคต ดังนั้น ความร่วมมือกันในทุกภาคส่วนจึงมีความจ� ำเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะประชาชนซึ่งควรเข้ามามีส่วนร่วมใน การควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหาร่วมกัน เอกสารอ้างอิง ข้อมูลการปกครอง, ศูนย์สารสนเทศเพื่อการบริหารและงานปกครอง, กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. กรุงเทพฯ, ๒๕๕๓. จ� ำนวนรถจดทะเบียน (สะสม) ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๕, กลุ่มสถิติขนส่ง, กองแผนงาน กรมการขนส่งทางบก. กรุงเทพฯ. ชยันต์ ตันติวัสดาการ และคณะ. ประเด็นท้าทาย ข้อเสนอเชิงนโยบายและการเจรจาของไทย เรื่อง การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก, สร้างสรรค์ปัญญา: ชุดนโยบายสาธารณะ ล� ำดับที่ ๒๒, ส� ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, ๒๕๕๓ หน้า ๒๕-๓๔.

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=