สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
65 จงรั กษ์ ผลประเสริ ฐ, พรรณวี ร์ เมฆวิ ชั ย วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๖ แม้ว่าในแต่ละปีภาคขนส่งและภาคอุตสาหกรรมจะใช้พลังงานขั้นสุดท้ายมากที่สุด แต่โดยรวม แล้วสัดส่วนของการใช้น�้ ำมันส� ำเร็จรูปมากที่สุดจะอยู่ที่ภาคขนส่ง ในขณะที่ภาคอุตสาหกรรมจะใช้พลังงาน จากไฟฟ้าหรือถ่านหินมากกว่า คือใน พ.ศ. ๒๕๕๕ (รูปที่ ๓) ภาคการขนส่งมีร้อยละของการใช้น�้ ำมัน ดีเซล ( diesel ) สูงสุด คิดเป็น ๔๔.๙ ของการใช้พลังงานในภาคขนส่งทั้งหมด รองลงมาคือ น�้ ำมันเบนซิน ( gasoline ) ร้อยละ ๒๑.๔, น�้ ำมันเครื่องบิน ( jet fuel ) ร้อยละ ๑๖.๖, แก๊สธรรมชาติส� ำหรับยานยนต์ ( NGV ) ร้อยละ ๘.๕ และทั้งแก๊สปิโตรเลียมเหลว ( LPG ) และน�้ ำมันเตา ( fuel oil ) ร้อยละ ๔.๓ จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นว่า ประเทศไทยมีการใช้พลังงานหลัก คือ น�้ ำมันส� ำเร็จรูป มากที่สุด และสัดส่วนของพลังงานน�้ ำมันส� ำเร็จรูปส่วนใหญ่จะถูกใช้ไปในภาคขนส่งของประเทศ รูปที่ ๑ อัตราร้อยละของการใช้พลังงานขั้นสุดท้ายจ� ำแนกตามประเภทของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๕ (กระทรวง พลังงาน ๒๕๕๕) รูปที่ ๒ การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายจ� ำแนกตามสาขาเศรษฐกิจและการใช้พลังงาน ในสาขาการขนส่งจ� ำแนก ตามประเภทของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๕ (กระทรวงพลังงาน ๒๕๕๕)
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=