สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

33 สั นทั ด ศิ ริ อนั นต์ไพบูลย์, ชญานิ ศ เอี่ ยมแก้ว, เปี่ยมศั กดิ์ เมนะเศวต วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๖ ปัจจัยทางกายภาพและทางเคมีของน�้ ำเสีย รวมถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นทั้งทางสังคมและสุขภาพ วิธีก� ำจัด หรือแยกน�้ ำมันและไขมันออกจากน�้ ำเสียแบ่งออกเป็น ๓ ประเภท คือ วิธีการทางกายภาพ เคมี และ ชีวภาพ นอกจากนี้ควรจะมีการสนับสนุนให้มีการใช้ประโยชน์จากน�้ ำมันและไขมันที่แยกออกจากน�้ ำเสีย เช่น ผลิต ไบโอดีเซล ท� ำสบู่ และท� ำเชื้อเพลิงอัดแท่ง เพื่อเป็นการลดปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน การเลือกใช้วิธี การที่เหมาะสมในการใช้ประโยชน์จากกากไขมันที่แยกออกจากน�้ ำเสียนั้น ต้องค� ำนึงถึงลักษณะสมบัติของ กากไขมันที่แยกได้ ความบริสุทธิ์ ตลอดจนปริมาณและความพร้อมทางด้านทรัพยากรบุคคล เงินทุน สถานที่และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการด� ำเนินกิจการนั้น ๆ อนึ่ง ในบางครั้งกากไขมันที่แยกได้จาก ระบบบ� ำบัดน�้ ำเสียไม่สามารถน� ำมาใช้ประโยชน์ได้ เพราะมีปริมาณน้อยมากไม่คุ้มทุนที่จะน� ำมาพัฒนา เพื่อน� ำกลับมาใช้ใหม่หรือมีความสกปรกค่อนข้างสูงไม่คุ้มทุนที่จะน� ำมาผ่านกระบวนการท� ำความสะอาด จ� ำเป็นต้องมีการก� ำจัดที่เหมาะสม เช่น การฝังกลบในหลุมฝังกลบที่ถูกหลักสุขาภิบาล หรือส่งไปก� ำจัด ยังโรงงานที่ขึ้นทะเบียนกับกรมโรงงานอุตสาหกรรม ในชีวิตประจ� ำวันนั้น การจัดการกับน�้ ำมันและไขมันที่ปนเปื้อนในน�้ ำเสียสามารถด� ำเนินการได้ ๒ แนวทาง คือ การลดการปนเปื้อนจากแหล่งก� ำเนิด และการลดหรือบ� ำบัดหลังจากมีการปนเปื้อนในน�้ ำเสีย แล้ว ปัจจุบันมักให้ความส� ำคัญกับแนวความคิดในเรื่องการลดการปนเปื้อนจากแหล่งก� ำเนิดเป็นหลัก โดยมี เหตุผลสนับสนุนว่า เป็นการจัดการทางด้านสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน อย่างไรก็ตาม การก� ำจัดหรือลดปริมาณไข มันที่จะปนเปื้อนในน�้ ำเสียโดยเทคโนโลยีที่เหมาะสมก็มีความส� ำคัญ ตัวอย่างเช่น บ่อดักไขมัน หรือใช้วัสดุ ดูดซับ โดยมีล� ำดับขั้นตอนในการด� ำเนินการได้ดังนี้ การลดปริมาณน�้ ำมันและไขมัน ณ แหล่งก� ำเนิด โดย การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการด� ำเนินชีวิต และติดตั้งบ่อหรือถังดักไขมัน เพื่อดักหรือแยกไขมัน ออกจาก น�้ ำเสียก่อนระบายสู่ล� ำรางหรือท่อระบายสาธารณะ น�้ ำมันหรือกากไขมันที่แยกได้จากน�้ ำเสียอาจพิจารณา น� ำมาใช้ประโยชน์หรือก� ำจัดด้วยวิธีการที่เหมาะสม เอกสารอ้างอิง กรมควบคุมมลพิษ. ๒๕๕๑. คู่มือแนวทางการจัดการน�้ ำมันและไขมันจากบ่อดักไขมันและการน� ำไป ใช้ประโยชน์ส� ำหรับชุมชน, บริษัท ทีคิวพี จ� ำกัด, กรุงเทพ. ๒๕๕๑. หน้า ๒-๓๒. การจัดการกับไขมัน. [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก: http://www.wwomc.com/index.php?lay=sho w&ac=article&Ntype=3&Id=538804279 (วันที่ค้นข้อมูล ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๕). กรมควบคุมมลพิษ. ๒๕๕๑. คู่มือแนวทางการจัดการน�้ ำมันและไขมันจากบ่อดักไขมันและการน� ำไป ใช้ประโยชน์ส� ำหรับบ้านเรือน, บริษัท ทีคิวพี จ� ำกัด, กรุงเทพ. ๒๕๕๑. หน้า ๑-๗.

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=