สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
น�้ ำมั นและไขมั นในน�้ ำเสี ยชุมชน 32 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 38 No. 3 July-Sep 2013 หลักการท� ำงานของบ่อหรือถังดักไขมัน นั้นอาศัยระยะเวลากักเก็บเพื่อให้น�้ ำและไขมันแยกชั้นออก จากกัน ถังดักไขมันส่วนใหญ่ประกอบด้วย ๒ ส่วนหลัก คือ ส่วนของตะแกรงส� ำหรับดักเศษอาหารซึ่งอยู่ ส่วนหน้าของถังดักไขมัน และส่วนที่ดักไขมันหรือน�้ ำมันซึ่งเป็นส่วนหลัก การท� ำงานของถังดักไขมันมีดังนี้ ๑. น�้ ำเสียจะผ่านเข้ามาที่ตะแกรงดักเศษอาหาร ซึ่งท� ำหน้าที่แยกเศษอาหารที่ปะปนมากับน�้ ำเสีย ๒. น�้ ำเสียจากขั้นตอนแรกจะไหลผ่านมายังส่วนดักไขมัน โดยไขมันที่แยกตัวออกจากน�้ ำเสียจะ ลอยขึ้นเป็นชั้นเหนือน�้ ำ ๓. น�้ ำเสียที่อยู่ใต้ชั้นไขมันจะไหลเข้าสู่ถังบ� ำบัดขั้นต่อไป ก่อนปล่อยออกสู่ท่อระบายน�้ ำสาธารณะ (กรมควบคุมมลพิษ ๒๕๕๑ : ๒-๓๒) หรือถูกระบายสู่ล� ำรางสาธารณะโดยตรง ถังดักไขมันเป็นอุปกรณ์บ� ำบัดน�้ ำเสียเบื้องต้น ส� ำหรับบ� ำบัดน�้ ำเสียจากครัวเรือน ร้านอาหาร หรือ ภัตตาคาร น�้ ำเสียจะมีปริมาณน�้ ำมันและไขมันปนเปื้อนอยู่มาก หากไม่ก� ำจัดออกจะท� ำให้ท่อระบายน�้ ำอุด ตัน การออกแบบบ่อดักไขมันทั่วไป จะก� ำหนดค่าระยะเวลากักเก็บไว้ที่ ๓๐ นาที และถังดักไขมันส่วนใหญ่ จะมีอัตราส่วนความกว้างกับความยาวที่ ๑ : ๑.๘ (บุญส่ง ไข่เกษ ๒๕๕๔ : ๓๐-๔๒) ส� ำหรับประเทศไทยซึ่งมี อุณหภูมิสูง การจับตัวของไขมันและการแยกชั้นของน�้ ำและน�้ ำมันจะช้า ดังนั้นระยะเวลากักเก็บของบ่อดัก ไขมันจึงควรนานกว่า ๓๐ นาที การออกแบบทั่วไปไม่ควรน้อยกว่า ๓-๖ ชั่วโมง เพื่อให้น�้ ำมันและไขมันแยก ตัวและลอยขึ้นสู่ผิวน�้ ำ อนึ่ง ถังดักไขมันก็มีข้อเสียอยู่หลายกรณี เช่น ประสิทธิภาพในการแยกไขมันออกจากน�้ ำเสียต�่ ำ เนื่องจากใช้ถังผิดขนาด เป็นที่สะสมของเศษอาหารและความสกปรก ท� ำให้เป็นแหล่งสัตว์พาหะน� ำโรค เช่น แมลงสาบ แมลงวัน และส่งกลิ่นเหม็นน่ารังเกียจขณะตักกากไขมันทิ้งหรือใช้ประโยชน์ ( http://www. wwomc.com ๒๕๕๕), ( http://local.environment.in.th ๒๕๕๕), ( http://www.ryt9.com ๒๕๕๕) ไขมันมักก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมมากมาย แต่ถ้าเรารู้จักลดปริมาณไขมันที่แหล่งก� ำเนิด และจัดหากระบวนการก� ำจัดหรือบ� ำบัดไขมันที่เหมาะสม รวมถึงน� ำกากไขมันที่แยกได้มาใช้ประโยชน์ใหม่ ย่อมเป็นการลดปัญหาสิ่งแวดล้อมและสุขภาพที่อย่างยั่งยืน สรุป น�้ ำมันและไขมันจากพืชและสัตว์เป็นมลพิษที่มักพบในน�้ ำเสียชุมชน นอกจากนี้ยังมีน�้ ำมันและไขมัน จากผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม น�้ ำมันและไขมันก่อให้เกิดปัญหาต่อสิ่งแวดล้อมเมื่อปล่อยลงสู่แหล่งน�้ ำธรรมชาติ เนื่องจากน�้ ำมันและไขมันท� ำให้อัตราการละลายของออกซิเจนลงในแหล่งน�้ ำลดลง รวมถึงปริมาณออกซิเจน ละลายน�้ ำที่มีอยู่ลดลงด้วย ส่งผลให้พืชน�้ ำและสัตว์น�้ ำด� ำรงชีวิตอยู่ไม่ได้ ฉะนั้น ควรก� ำจัดน�้ ำมันและไขมัน ออกจากน�้ ำเสียก่อนปล่อยสู่แหล่งน�้ ำธรรมชาติเพื่อลดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และ สุขภาพ การเลือกใช้วิธีการบ� ำบัดและก� ำจัดน�้ ำมันและไขมันในน�้ ำเสียให้เกิดความเหมาะสมต้องค� ำนึงถึง
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=