สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
25 สั นทั ด ศิ ริ อนั นต์ไพบูลย์, ชญานิ ศ เอี่ ยมแก้ว, เปี่ยมศั กดิ์ เมนะเศวต วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๖ ข. การเติมอากาศ เป็นวิธีการเป่าอากาศลงไปในน�้ ำเสียโดยตรงเพื่อให้ฟองอากาศพาน�้ ำมัน และไขมันในน�้ ำเสียลอยขึ้นสู่ผิวน�้ ำ ฟองอากาศเป็นตัวช่วยพาให้น�้ ำมันและไขมันลอยตัวขึ้นสู่ผิวน�้ ำเร็วขึ้น วิธีนี้เหมาะส� ำหรับน�้ ำมันและไขมันแยกออกจากน�้ ำเสียได้ยาก หากใช้ถังดักไขมันทั่วไปอาจต้องใช้ถังที่มี ขนาดใหญ่มาก ค. การใช้วัสดุดูดซับ เป็นวิธีการทางกายภาพที่ใช้วัสดุที่มีสมบัติในการดูดซับน�้ ำมันและไขมัน ดังแสดงในรูปที่ ๓ โดยวัสดุที่น� ำมาใช้อาจท� ำมาจากเส้นใยสังเคราะห์ หรือเส้นใยพืชซึ่งอาจจะเป็นวัสดุที่หา ได้ง่ายในท้องถิ่น โดยทั่วไปวัสดุดูดซับควรมีความหนาแน่นต�่ ำเพื่อสามารถลอยตัวอยู่ได้บนน�้ ำได้ดี สามารถ ดูดซับน�้ ำมันและไขมันไว้ในตัวได้ดี สะดวกต่อการใช้งานขั้นตอนการใช้ไม่ยุ่งยาก ไม่เป็นพิษหรือส่งผล กระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ รูปที่ ๔ แสดงลักษณะวัสดุดูดซับที่เป็นแผ่น ( http://www.dandbshopping.com/industry/ 3M-M-PD720GG ๒๕๕๕) ๒. กระบวนการทางเคมี เป็นวิธีการ บ� ำบัดหรือแยกน�้ ำมันและไขมันด้วยการเติมสาร เคมีบางชนิดเพื่อช่วยแยกน�้ ำมันและไขมันออก จากน�้ ำ สารเคมีที่ใช้ส่วนใหญ่เป็นสารลดแรงตึงผิว (surfactant) หรือมีส่วนประกอบของสารลดแรงตึง ผิว การใช้สารเคมีดังกล่าวในการแยกน�้ ำมันและไข มันออกจากน�้ ำเสียท� ำได้ ๒ วิธี ดังนี้ ก. วิธีที่ ๑ ท� ำให้น�้ ำมันหรือไขมันแตก ตัว โดยสารเคมีที่ใช้จะท� ำให้ความแตกต่างของแรง ตึงผิวระหว่างน�้ ำมันและไขมันกับน�้ ำลดลง จนแรง ตึงผิวของน�้ ำมันและไขมันใกล้เคียงกับน�้ ำ ท� ำให้ น�้ ำมันและไขมันกระจายตัวและช่วยป้องกันการ รวมตัวของน�้ ำมันและไขมันอีก ข. วิธีที่ ๒ การใช้สารเคมีท� ำให้น�้ ำมันและไขมันรวมตัวกันและแยกตัวออกจากน�้ ำ โดยการ ฉีดพ่นสารเคมีลงบนจุดที่มีน�้ ำมันและไขมันอยู่ สารเคมีดังกล่าวจะพัฒนาโครงสร้างเป็น micelle และ โครงสร้างดังกล่าวจะท� ำให้น�้ ำมันและไขมันรวมตัวกันและแยกตัวออกจากน�้ ำ อนึ่ง สารเคมีที่ใช้ยังมี ราคาแพงและการใช้ยังไม่แพร่หลายนัก ๓. กระบวนการทางชีวภาพ เป็นวิธีการบ� ำบัดน�้ ำมันและไขมันในน�้ ำเสียโดยอาศัยจุลินทรีย์ เช่น ยีสต์ รา แบคทีเรีย ช่วยในการย่อยสลายน�้ ำมันและไขมัน กระบวนการทางชีวภาพแบ่งออกตามลักษณะ ปฏิกิริยาการย่อยสลายสารอินทรีย์ของจุลินทรีย์ได้เป็น ๒ แบบ คือการย่อยสลายสารอินทรีย์โดยใช้ ออกซิเจน เช่น สระเติมอากาศ (aerated lagoon) ระบบเลี้ยงตะกอนเร่ง (activated sludge system) และ
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=