สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

23 สั นทั ด ศิ ริ อนั นต์ไพบูลย์, ชญานิ ศ เอี่ ยมแก้ว, เปี่ยมศั กดิ์ เมนะเศวต วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๖ น�้ ำมันและไขมันที่ปนเปื้อนในน�้ ำเสีย จะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ รวมถึงเป็นปัญหา ต่อระบบบ� ำบัดน�้ ำเสียเอง ดังแสดงในรูปที่ ๑ อนึ่ง องค์ประกอบน�้ ำมันและไขมันในน�้ ำเสียจะแตกต่างกันออกไปตามแหล่งก� ำเนิดดังนี้ รูปที่ ๑ ผลกระทบจากน�้ ำมันและคราบไขมันต่อสิ่งแวดล้อม (สารานุกรมเสรี วิกิพีเดีย ๒๕๕๕) น�้ ำเน่าเสียจากการขาดออกซิเจนส่งผลกระทบต่อสัตว์และพืชน�้ ำ ส่งกลิ่นเหม็นรบกวน ชุมชน สะสม ท� ำให้ท่อระบายน�้ ำอุดตัน ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ลดประสิทธิภาพของ ระบบบ� ำบัดน�้ ำเสีย ก. น�้ ำเสียชุมชน น�้ ำมันและไขมันที่ปนเปื้อนในน�้ ำเสียนั้นส่วนใหญ่จะมาจากการประกอบอาหาร โดยจะพบมีการปนเปื้อนของน�้ ำมันและไขมันสูงถึง ๕๐๐ มิลลิกรัม/ลิตร ดังนั้นถังดักไขมันจึงมีความจ� ำเป็น ส� ำหรับแต่ละครัวเรือน จากการประมาณการโดยการค� ำนวณประสิทธิภาพของบ่อดักไขมันที่ร้อยละ ๖๐ พบว่าปริมาณน�้ ำมันและไขมันจากบ่อดักไขมันของบ้านเรือนจะมีสูงถึง ๐.๘ และ ๐.๒ กิโลกรัม/วัน/ครัว เรือน ในกรณีที่มีการติดตั้งและไม่ติดตั้งตะแกรงดักเศษอาหาร ตามล� ำดับ (กรมควบคุมมลพิษ ๒๕๕๑ : ๑-๗) ข. น�้ ำเสียจากร้านอาหารและภัตตาคาร น�้ ำมันและไขมันที่ปนเปื้อนอยู่ในน�้ ำเสียจากร้านอาหาร มีปริมาณเฉลี่ยสูงถึง ๑,๕๐๐ มิลลิกรัม/ลิตร และค่าความเข้มข้นของน�้ ำมันและไขมันจะสูงขึ้นตามขนาด พื้นที่ (กรมควบคุมมลพิษ ๒๕๕๑ : ๑-๗, ๒-๓๒) กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้ก� ำหนดค่ามาตรฐานน�้ ำทิ้ง จากโรงงานอุตสาหกรรมและนิคมอุตสาหกรรม ตามประกาศกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่ง แวดล้อม ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๓๙) ให้น�้ ำทิ้งที่สามารถระบายสู่สิ่งแวดล้อมจะมีค่าน�้ ำมันและไขมันได้ไม่เกิน ๕ มิลลิกรัม/ลิตร หรือ อาจแตกต่างแล้วแต่ละประเภทของแหล่งรองรับน�้ ำทิ้ง หรือ ประเภทของโรงงาน อุตสาหกรรมตามที่คณะกรรมการควบคุมมลพิษเห็นสมควรแต่ไม่เกิน ๑๕ มิลลิกรัม/ลิตร

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=