สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
21 สั นทั ด ศิ ริ อนั นต์ไพบูลย์, ชญานิ ศ เอี่ ยมแก้ว, เปี่ยมศั กดิ์ เมนะเศวต วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๖ ในแหล่งน�้ ำลดลงด้วย เนื่องจากออกซิเจนละลายน�้ ำส่วนหนึ่งถูกน� ำไปใช้ย่อยสลายน�้ ำมันและไขมันโดย กระบวนการทางชีววิทยาแบบใช้ออกซิเจนก่อให้เกิดน�้ ำเน่าเสีย นอกจากนี้ยังท� ำลายทัศนียภาพที่สวยงาม (กรมควบคุมมลพิษ ๒๕๕๑ : ๒-๓๒) การลดปริมาณน�้ ำมันและไขมันที่แหล่งก� ำเนิด การส่งเสริมให้มีการจัดการสิ่งแวดล้อม และการใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการแยกหรือก� ำจัดน�้ ำมันและไขมัน เป็นสิ่งจ� ำเป็นเพื่อช่วยลด ปัญหาสิ่งแวดล้อม น�้ ำมันและไขมันเป็นสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายยากทางชีวภาพ และเป็นปัจจัยที่รบกวน การท� ำงานของระบบบ� ำบัดน�้ ำเสียทุกชนิด สารอินทรีย์เคมีที่เป็นพิษจ� ำนวนมากละลายในน�้ ำมันได้ดีกว่า น�้ ำ อีกทั้งน�้ ำมันและไขมันมักมีกลิ่นที่น่ารังเกียจเมื่อเกิดการเน่าเสีย การลดปริมาณน�้ ำมันและไขมันในน�้ ำ เสียนั้นสามารถแบ่งออกได้เป็น ๒ วิธีหลักคือ การลดปริมาณไขมันและน�้ ำมันที่แหล่งก� ำเนิด และการก� ำจัด หรือแยกน�้ ำมันและไขมันออกจากน�้ ำเสีย เทคโนโลยีที่ใช้ในการก� ำจัดหรือบ� ำบัดน�้ ำมันและไขมันในน�้ ำเสีย แบ่งได้ ๓ วิธีคือ การบ� ำบัดทางกายภาพ (physical treatment) เป็นวิธีการบ� ำบัดโดยอาศัยลักษณะสมบัติ ทางกายภาพของน�้ ำมันและไขมันที่ไม่ละลายน�้ ำและมักลอยอยู่เหนือผิวน�้ ำ การบ� ำบัดทางเคมี (chemical treatment) เป็นวิธีการบ� ำบัดด้วยการเติมสารเคมีบางชนิดลงไปเพื่อแยกน�้ ำมันและไขมันออกจากน�้ ำ และ วิธีการบ� ำบัดทางชีวภาพ (biological treatment) เป็นวิธีการบ� ำบัดที่อาศัยจุลินทรีย์ เช่น ยีสต์ รา และ แบคทีเรีย ย่อยสลายน�้ ำมันและไขมันในน�้ ำเสีย (กรมควบคุมมลพิษ ๒๕๕๑ : ๒-๓๒) วิธีการก� ำจัดไขมันขั้นต้นที่แต่ละครัวเรือนสามารถท� ำได้คือการใช้กระบวนการทางกายภาพ โดยใช้ บ่อหรือถังดักไขมันเป็นอุปกรณ์ส� ำหรับแยกน�้ ำมันและไขมันออกจากน�้ ำเสียก่อนระบายลงสู่ท่อระบายน�้ ำเสีย อนึ่ง น�้ ำมันและไขมันที่แยกได้จากน�้ ำเสีย สามารถน� ำกลับมาใช้ประโยชน์ โดยใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิต ไบโอดีเซล ท� ำสบู่ หรือเชื้อเพลิงอัดแท่ง ซึ่งนอกจากจะเป็นการลดปริมาณน�้ ำมันและไขมันในน�้ ำเสียแล้ว ยังเป็นการใช้ประโยชน์จากน�้ ำมันและไขมันที่แยกได้จากน�้ ำเสีย เป็นการลดปัญหาสิ่งแวดล้อมได้อย่าง ยั่งยืน แนวทางการใช้ประโยชน์จากไขมันและน�้ ำมันที่แยกได้จากน�้ ำเสียนั้น ภาครัฐควรให้การสนับสนุน อย่างจริงจัง เช่น การก� ำหนดให้เป็นนโยบายของรัฐ การให้ความรู้และเทคโนโลยีที่เหมาะสม การจัด ตั้งองค์กรที่จะให้การสนับสนุนหรือรับซื้อน�้ ำมันและไขมันดังกล่าวจากประชาชน รวมถึงการสนับสนุน แหล่งเงินทุนในการด� ำเนินการ น�้ ำมันและไขมัน (สารานุกรมเสรี วิกิพีเดีย ๒๕๕๕), (กรมควบคุมมลพิษ ๒๕๕๑ : ๒-๓๒) น�้ ำมันและไขมัน หมายถึง สารประกอบหลายชนิดซึ่งมีลักษณะร่วมกันคือ ละลายได้ในตัวท� ำละลาย อินทรีย์ แต่ไม่ละลายน�้ ำ น�้ ำมันและไขมันเป็นชื่อรวมที่ใช้เรียกส่วนของน�้ ำมันหรือไขมันที่ปนเปื้อนในน�้ ำเสีย น�้ ำมันและไขมันในทางเคมี คือ ไทรกลีเซอไรด์ ซึ่งเป็นไทรเอสเตอร์ของกลีเซอรอลกับกรดไขมัน “น�้ ำมัน” ใช้กับไขมันที่เป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง ส่วนไขมัน หมายถึง ไขมันที่เป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง นอกจาก
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=