สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

217 วีรวั ฒน์ หนองห้าง, จตุรงค์ สุคนธชาติ , ณสรรค์ ผลโภค วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๖ รูปที่ ๔ กราฟแสดงผลรวมของสมการเวลากับการชดเชยเวลาเนื่องจากต� ำแหน่งลองจิจูดส� ำหรับติดตั้ง นาฬิกาแดดแบบศูนย์สูตร โรงเรียนจิตรลดา กรุงเทพมหานคร (ละติจูด ๑๓˚๔๖́ เหนือ ลองจิจูด เท่ากับ ๑๐๐˚๐๓๑́ ตะวันออก) จากกราฟที่แสดงผลรวมของสมการเวลากับการชดเชยเวลาเนื่องจากลองจิจูดที่ติดตั้งนาฬิกา แดดจะได้ว่า เมื่อเราอ่านค่าเวลานาฬิกาแดดแบบศูนย์สูตรทั่วไปแล้วจะต้องน� ำเวลาจากกราฟมาบวกหรือ ลบกับเวลาที่ได้จากกราฟในแต่ละวัน เช่น ในวันที่ ๑ มีนาคม อ่านเวลานาฬิกาแดดได้ ๘.๐๐ น. ซึ่งจาก กราฟแสดงผลรวมสมการเวลากับการชดเชยเวลาเนื่องจากลองจิจูดที่ติดตั้งนาฬิกาแดดเท่ากับ - ๓๐ นาที แสดงว่าเวลาของดวงอาทิตย์จริงช้ากว่าเวลาของดวงอาทิตย์สมมติ ๓๐ นาที ท� ำให้เวลาของนาฬิกาแดด แบบศูนย์สูตรที่อ่านได้ช้ากว่าเวลามาตรฐานประเทศไทย ๓๐ นาที ดังนั้น ถ้าต้องการทราบเวลามาตรฐาน ที่แท้จริงจะต้องน� ำเวลาที่ได้จากนาฬิกาแดด คือ ๘.๐๐ น. บวกกับเวลาที่ได้จากผลรวมสมการเวลาที่ช้า กว่า ๓o นาที แสดงว่าเวลามาตรฐานประเทศไทย คือ ๘.๓๐ น. ๓. การประดิษฐ์อุปกรณ์ส� ำหรับตรวจวัดเงาเพื่อระบุมุมเดคลิเนชันของดวงอาทิตย์ (http://www.ifpan. edu.pl/firststep/aw-works/fsII/mul/mueller.html ), (http://www.analemma.com/pages/framsPage. html) วิธีการ เนื่องจากผลรวมของสมการเวลาหรือ “แอนาเล็มมา” จะแสดงถึงมุมเดคลิเนชันของดวงอาทิตย์ ที่มีค่าเปลี่ยนแปลงไประหว่าง - ๒๓.๔๕ องศา ถึง +๒๓.๔๕ องศาในรอบ ๑ ปี ดังนั้น ถ้าหากสามารถ ตรวจวัดมุมเดคลิเนชันของดวงอาทิตย์ได้ก็จะสามารถใช้ชดเชยเวลาแทนการใช้ผลรวมของสมการเวลาได้

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=