สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
203 ลอย ชุนพงษ์ทอง วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๖ เช่น วันขึ้น ๓ ค�่ ำ เดือน ๖ พ.ศ. ๒๕๔๑ เมื่อแทนค่าประเสริฐประจ� ำปีซึ่ง = ๓๒ ค่าค�่ ำทดเดือน ๓ = ๘๘ และ ค�่ ำ = ๓ ในสมการ จะได้วันที่ = ๘๘ - ๓๒ + ๓ = ๕๙ ตรงกับวันที่ ๕๙ เมื่อให้วันที่ ๑ มีนาคม เป็นวันที่ ๑ วันที่ ๕๙ จะตรงกับวันที่ ๒๘ เมษายน ซึ่งอาจดูได้จากตารางประเสริฐที่แนบท้าย จะพบว่า เลข ๕๙ ตรงกับวันที่ ๒๘ เมษายน วิธีแปลงวันเกรกอเรียนเป็นจันทรคติด้วยค่าประเสริฐ สามารถใช้ค่าประเสริฐแปลงวันที่ในปฏิทินเกรกอเรียนเป็นวันในปฏิทินไทย ด้วยสมการเดิมแต่ สลับข้างตัวแปรคือ ค�่ ำที่ = วันที่ + ประเสริฐ – ค�่ ำทด...........................................................(สมการ ๔) เช่น วันที่ ๑๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ ปีดังกล่าว มีค่าประเสริฐ = ๓๒ และวันที่ ๑๕ สิงหาคม มีค่าตาม ตารางวันที่ = ๑๖๘ น� ำค่าทั้งสองไปแทนในสมการจะได้ ค�่ ำที่ = ๑๖๘ + ๓๒ - ค�่ ำทด ค�่ ำที่ = ๒๐๐ - ค�่ ำทด ค�่ ำทดคือจ� ำนวนที่น้อยกว่า ๒๐๐ ในตาราง ค�่ ำทดในที่นี้คือ ๑๗๗ ดูที่ช่องปีปกติ (เพราะทราบ ก่อนหน้าแล้วว่าเป็นปีปกติ) ตรงกับเลข ๙ คือ ตกเดือน ๙ แทนค�่ ำทดด้วยค่า ๑๗๗ ในสมการจะได้ ค�่ ำที่ = ๒๐๐ - ๑๗๗ = ๒๓ ดังนั้น วันที่ ๑๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ จึงตรงกับ วันแรม ๘ ค�่ ำ เดือน ๙ ค่าประเสริฐที่ละเอียด ค่าประเสริฐที่กล่าวมาข้างต้นเป็นค่าประเสริฐอย่างง่าย ไม่มีทศนิยม ต้องใช้ค่าของปีถัดไปมาลบ ออก จึงวางปฏิทิน จาก ๑ มีนาคม ถึง ๑ มีนาคมได้ ต่อไปนี้จะกล่าวถึงค่าประเสริฐแบบที่มีทศนิยม เพื่อ ให้เป็นรหัสเลข ในการวางปฏิทินที่ครบถ้วน โดยไม่ต้องพึ่งค่าของปีถัดไป ทศนิยมบ่งบอกชนิดของปี โอกาสเกิด .๑ = เป็นอธิกวารและอธิกสุรทิน ๔.๖% .๒ = เป็นอธิกวารและปกติสุริทิน แต่ถัดไปเป็นอธิกสุรทิน ๔.๘% .๓ = เป็นอธิกวาร ปกติสุริทินทั้งนี้และถัดไป ๑๐.๐% .๔ = เป็นอธิกมาสและอธิกสุรทิน ๙.๐% .๕ = เป็นอธิกมาสและปกติสุริทิน แต่ถัดไปเป็นอธิกสุรทิน ๙.๐% .๖ = เป็นอธิกมาส ปกติสุริทินทั้งนี้และถัดไป ๑๘.๙% .๗ = เป็นปกติวารและอธิกสุรทิน ๑๐.๖% .๘ = เป็นปกติวารและปกติสุริทิน แต่ถัดไปเป็นอธิกสุรทิน ๑๐.๖% .๙ = เป็นปกติวาร ปกติสุริทินทั้งนี้และถัดไป ๒๒.๕%
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=