สำนักงานราชบัณฑิตยสภา
201 ลอย ชุนพงษ์ทอง วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๖ เทคนิคที่ ๓ การวางปฏิทินด้วยค่าประเสริฐ ค่าประเสริฐ คือ ระยะระหว่างวันที่ ๑ มีนาคม กับวันขึ้น ๑ ค�่ ำ เดือน ๓ ของปีนั้น (เป็นบวก เมื่อเดือน ๓ มาก่อนเดือนมีนาคม) แม้ว่าค่าวารตรุษและค่าหนตรุษ เมื่อทราบค่าศักราช สามารถวางปฏิทิน ให้เป็นเกรกอเรียนได้ แต่ต้องใช้ค่าคงที่อื่นประกอบ จึงไม่ขออธิบายในบทความนี้ นอกจากนี้ จุดเด่นของ ค่าประเสริฐ คือ ๑. มีขั้นตอนการแปลงที่สั้นที่สุด ๒. สามารถบอกความเป็นอธิกสุรทินได้ ๓. แม้จะไม่ทราบปีศักราช ก็แปลงปฏิทินจันทรคติเป็นเกรกอเรียนได้ Ye a rTypeS = S ๐ – S ๑ S ๐ เป็นค่าประเสริฐของปีปัจจุบัน S ๑ เป็นค่าประเสริฐของปีถัดไป พ.ศ. อธิกสุรทิน ประเสริฐ ๒๕๔๐ - ๒๒ ๒๕๔๑ - ๓๒ ๒๕๔๒ - ๔๓ ๒๕๔๓ มี ๒๕ YearTypeS ปีนี้ ปีหน้า ๑๙ อธิกมาส ปกติสุรทิน -๑๐ อธิกวาร ปกติสุรทิน -๑๑ ปกติ ปกติสุรทิน ๑๘ อธิกมาส อธิกสุรทิน -๑๑ อธิกวาร อธิกสุรทิน -๑๒ ปกติ อธิกสุรทิน
Made with FlippingBook
RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=