สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

13 สั นทั ด ศิ ริ อนั นต์ไพบูลย์, แทนตา จั นทร์วุ่น, เปี่ยมศั กดิ์ เมนะเศวต วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ ๓๘ ฉบับที่ ๓ ก.ค.-ก.ย. ๒๕๕๖ ตารางที่ ๓ เกณฑ์การออกแบบระบบบึงประดิษฐ์ที่น�้ ำไหลใต้ผิวดินชั้นกรองในแนวยืน (Vertical flow systems: VFS) (สมพล บุญเฟรือง ๒๕๕๖) เกณฑ์การออกแบบ (Design Criteria) พารามิเตอร์ ค่าที่ใช้ออกแบบ ภาระสารอินทรีย์ (Organic loading) ๐.๐๐๖-๐.๐๒๕ กก.บีโอดี/ตร.ม.-วัน ภาระชลศาสตร์ (Hydraulic loading) ๖-๒๕ ชม./วัน เวลาการกักเก็บ (HRT) ๒-๖ วัน ประโยชน์และจุดเด่นของบึงประดิษฐ์ ประโยชน์และจุดเด่นของบึงประดิษฐ์มีอยู่มากมายดังนี้ ๑. เป็นระบบบ� ำบัดน�้ ำเสียที่มีราคาถูก การด� ำเนินระบบง่าย ไม่ซับซ้อน ๒. ไม่ต้องใช้เทคโนโลยีการบ� ำบัดสูง รวมถึงผู้ควบคุมดูแลระบบไม่ต้องมีความรู้สูงนัก ๓. ประหยัดพลังงานและดูแลรักษาง่าย ๔. ผลิตกากตะกอนหรือตะกอนส่วนเกินไม่สูงนักเมื่อเทียบกับระบบการบ� ำบัดแบบตะกอนเร่ง (activated sludge system) ๕. บึงประดิษฐ์เป็นระบบบ� ำบัดน�้ ำเสียประเภทหนึ่งที่มีจุดเด่น คือ มีศักยภาพในการบ� ำบัด สารประกอบไนโตรเจนและสารประกอบฟอสฟอรัสที่ปนเปื้อนในน�้ ำเสียได้ดี ไม่ยุ่งยากและเสียค่าใช้จ่าย ค่อนข้างต�่ ำเมื่อเปรียบเทียบกับระบบบ� ำบัดประเภทอื่น เช่น ระบบเลี้ยงตะกอนเร่ง ๖. ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างระบบและค่าการด� ำเนินบึงประดิษฐ์ค่อนข้างต�่ ำ เนื่องจากเทคโนโลยี ที่ใช้ไม่ซับซ้อน ส่งผลให้ไม่จ� ำเป็นต้องมีผู้เชี่ยวชาญในการดูแลระบบ ๗. สามารถก� ำจัดสารอินทรีย์และลดความปนเปื้อนในน�้ ำเสียได้สูง ข้อด้อยของบึงประดิษฐ์ บึงประดิษฐ์มีข้อด้อยหรือข้อจ� ำกัดอยู่หลายประการดังนี้ ๑. พืชที่น� ำมาปลูกไม่สามารถเจริญเติบโตเพิ่มปริมาณตามที่ต้องการได้ อาจเนื่องจากเป็นพืชที่ ไม่เหมาะแก่น�้ ำเสียที่ต้องการบ� ำบัดหรือโดนรบกวนจากสัตว์ที่กินพืชเหล่านั้น ๒. การเลือกชนิดของพืชให้เหมาะแก่ลักษณะน�้ ำเสียที่ต้องการบ� ำบัด เพื่อให้พืชสามารถเจริญ เติบโตและมีประสิทธิภาพในการบ� ำบัดน�้ ำเสีย ค่อนข้างยากและมีข้อจ� ำกัด

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=