สำนักงานราชบัณฑิตยสภา

กระบื อปลั กกั บภาวะเครี ยดจากความร้อน 182 The Journal of the Royal Institute of Thailand Vol. 38 No. 3 July-Sep 2013 ๙. สรุป จากการศึกษาวิจัยผลของความเครียดจากความร้อนในกระบือปลัก การศึกษาพฤติกรรมของ กระบือที่แสดงออกภายนอกขณะอยู่ในภาวะความเครียดจากความร้อนเพียงอย่างเดียว อาจไม่เพียงพอใน การน� ำไปประยุกต์และแก้ปัญหาเพื่อพัฒนาการเลี้ยงสัตว์ให้ดีได้ การศึกษาการเปลี่ยนแปลงการท� ำงานของ ระบบต่าง ๆ ภายในร่างกายกระบือปลักจะท� ำให้เข้าใจกลไกการท� ำงานของระบบต่าง ๆ ภายในร่างกายใน ขณะอยู่ในสภาวะแวดล้อมที่มีอุณหภูมิสูงทั้งในระยะเฉียบพลันและระยะเวลานาน ความรู้ที่ได้อาจใช้เป็น แนวทางในการน� ำไปประยุกต์และแก้ปัญหาเพื่อพัฒนาการเลี้ยงกระบือปลักในประเทศที่มีสภาพอากาศ ร้อนชื้นได้ดียิ่งขึ้น เอกสารอ้างอิง ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร, ประภา ลอยเพ็ชร และ อายุส พิชัยชาญณรงค์. ๒๕๒๗. “องค์ประกอบในเม็ดเลือดแดง ของกระบือปลัก”, เวชชสารสัตวแพทย์ ๑๔(๒) หน้า ๘๑-๘๗. Chaiyabutr, N., Buranakarl, C., Muangcharoen, V., Loypetjra, P. and Pichaicharnarong, A. 1987. Effects of acute heat str’ess on changes in the rate of liquid flow from the rumen and turnover of body water of swamp buffalo. J.Agri.Sci. (Camb.). 108 : 549-553. ควบคุม ๕ ชม. วันที่ ๕ วันที่ ๑๐ ในร่ม ตากแดด พลาสมา Na+ (mEq/L) ๑๓๓.๔±๒.๔ ๑๓๔.๔±๒.๒ ๑๓๓.๒±๑.๖ ๑๓๓.๖±๐.๙ พลาสมา K+ (mEq/L) ๔.๓±๐.๔ ๔.๕±๐.๔ ๓.๗±๐.๓* ๓.๙±๐.๒ พลาสมา Cl- (mEq/L) ๑๐๔.๔±๖.๒ ๑๐๕.±๑๒.๘ ๑๐๓.๘±๔.๖ ๑๐๑.๐±๔.๔ RBC Na+ (mEq/LRbc) ๓๙.๖±๙.๖ ๒๑.๙± ๑๗.๔ ๒๘.๘± ๑๒.๑ ๓๕.๖±๘.๘ RBC K+ (mEq/LRbc) ๖๐.๕±๑.๐ ๘๑.๔±๑๒.๘** ๗๙.๖±๕.๕** ๘๓.๗±๖.๐*** RBC Cl- (mEq/LRbc) ๙๕.๐±๑๘.๗ ๖๖.๓±๒๕.๔ ๕๘.๙±๓๕.๗ ๕๙.๖±๑๕.๔** พลาสมา pH ๗.๓๘±๐.๐๓ ๗.๔๓±๐.๐๑** ๗.๔๕±๐.๐๕* ๗.๓๙±๐.๐๑ เปรียบเทียบค่าที่วัดขณะอยู่กลางแจ้งตากแดดกับค่าที่วัดขณะอยู่ในร่ม : ค่าแตกต่างมีนัยส� ำคัญทางสถิติ * P<0.05, **P<0.01, ***P<0.001. ( ที่มา : Chaiyabutr et al. 1997)

RkJQdWJsaXNoZXIy NTk0NjM=